Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/859
Title: 泰国罗勇客家方言与中国同源地梅县客家方言的声调对比研究
Other Titles: การเปรียบเทียบการออกเสียงภาษาแคะของคนจีนที่อาศัยในประเทศจีนและคนไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดระยอง
A Contrastive Study between Hakka Dialect in Rayong Thailand and the One in Its Chinese Homologous (Meixian China)
Authors: 李超
Li, Chao
客家人
林安发
Lin, Anfa
Keywords: ชาวจีน -- ไทย -- ระยอง
Chinese -- Thailand -- Rayong
中国人 -- 泰国 -- 罗勇
ฮากกา
Hakka (Chinese people)
ภาษาจีน -- การออกเสียง
China language -- Pronunciation
汉语 -- 发音
Issue Date: 2019
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: การค้าระหว่างประเทศพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ด้วยการดำเนินยุทธศาสตร์หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทางของประเทศจีน ทำให้สังคมในปัจจุบันมีการแลกเปลี่ยนระหว่างคนไทยและคนจีนเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและใกล้ชิดกันมากขึ้น ด้วยเหตุผลดังกล่าวทำให้มีนักท่องเที่ยวและคนจีนที่เข้ามาทำงานในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น จึงทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างคนไทยและคนจีนพัฒนาดีขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้ ความสัมพันธ์ของคนทั้งสองประเทศไม่จำกัดอยู่แต่เพียงการดำเนินชีวิตประจำวันเท่านั้น หากแต่ยังครอบคลุมไปถึงการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมและด้านอื่นๆ อีกมากมาย ผู้วิจัยเห็นว่า ภายใต้สถานการณ์ดังกล่าวจะทำให้การแลกเปลี่ยนและติดต่อสื่อสารระหว่างคนจีนแคะที่อาศัยอยู่ในไทยและในจีน จะเป็นไปอย่างสะดวกและเป็นประโยชน์มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้คนไทยเชื้อสายจีนที่อยู่อาศัยในไทยมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนไทยเชื้อสายจีนแคะที่มีเป็นจำนวนมากเป็นอันดับต้นๆ โดยคนจีนแคะที่อาศัยอยู่ในจังหวัดระยองมีจำนวนมากพอที่จะทำการศึกษาการออกเสียงวรรณยุกต์ของคนจีนแคะในไทย เพื่อทำการเปรียบเทียบกับคนจีนแคะในจีนอันจะสามารถส่งเสริม การแลกเปลี่ยน และความร่วมมือระหว่างคนจีนแคะของทั้งสองประเทศให้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้จังหวัดระยองยังเป็นเขตนิคมอุตสาหกรรมที่สำคัญของไทย อีกทั้งยังเป็นจังหวัดที่จะมีความร่วมมือระหว่างไทยและจีน ในการพัฒนารถไฟความเร็วสูงอีกด้วย เช่นนี้ การศึกษาภาษาจีนแคะในจังหวัดระยองจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งด้วยเหตุผลที่ได้กล่าวมา งานวิจัยนี้แบ่งออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ ทั้งหมดห้าบท โดยในส่วนแรก เป็นการนำเสนอความสำคัญและที่มาของหัวข้อวิจัย การวิจัยเกี่ยวกับการออกเสียงวรรณยุกต์ของจีนแคะในปัจจุบัน รวมถึงการกระจายการอยู่อาศัยของชาวจีนแคะในจังหวัดระยอง ส่วนที่สองคือ การวิเคราะห์ความแตกต่าง การออกเสียงวรรณยุกต์ของคนไทยเชื้อสายจีนแคะกับคนจีนแคะในประเทศจีนว่า มีจุดเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร และส่วนที่สามคือ การวิเคราะห์ความแตกต่างการออกเสียงระหว่างคนไทยเชื้อสายจีนแคะกับภาษาจีนกลางว่ามีจุดเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร และได้นำไปสู่การนำเสนอ คำแนะนำ และความคิดเห็นในการเรียนภาษาจีนของลูกหลานชาวจีนแคะต่อไปในอนาคต
Nowadays, with the rapid fevelopment of international trade and the implementation of China's "One Belt and One Road" development strategy, the exchange between China and Thailand are beginning to grow gradually. Under such a plan, the idea of people travelling to and working in Thailand is becoming morem popular among Chinese people, and communication between people in China and Thailand is becoming more frequent with the inclusion of cultural exchanges and various kinds of professional fields. The author thought that the Hakka within these two countries could communicate more conveniently and frequently under such an environmental background. Within in Thailand, the Hakka play an important role in Thailand's economy. The Hakka of Rayong, a city within Thailand, have their scale there. Researching the characteristics of the tone of the way the Hakka in that region speak Chinese, and comparing the domestic dialect of Mainland China can promote communication within these two regions so that it could improve cooperation in all aspects. Since Rayong, as one of the leadning industrial cities in Thailand, is one of the most important places for the China's High-speed railway line to reach Thailand in the future, it is therefore significant to research the Hakka's dialect of Chinese living within Rayong. This paper is divided into three parts with five chapters. The first part is the introduction, which mainly summarizes the origin, significance, and also a review of researching the tones of the Hakka dialect as well as the geographical position of Rayong in Thailand to assess the distribution situation of the Hakka there. The second part is a comparison of their tone to that of Mandarin. This research is conducted by analyzing their tone from various speech materials collected from Rayong, and comparing it to the original domestic tone. This is done to compare the differencs and similarities between the two and the reasons for them. The third part continues analyzing the differences and similarities between the Hakka dialect of Rayong and Mandarin as a way to provide suggestions and commentary for how the later generations of the Hakka of Rayong can learn the language of Mandarin China.
当今社会,随着国际贸易加速发展的需要和我国一带一路发展战略的实施,中国人与泰国人的交流正随着一带一路的发展战略在不断的深化中。在这样的大背景下,到泰国旅游与工作的人日益增长,中泰国的人们的交流也日益频繁,人们的交流不仅仅局限于生活方面的交流,也包括文化交流和各专业领域的交流。 笔者认为,在这样的大环境背景下,两国间的客家人之间的交流也会变的更加便利,更加频繁。而在泰国,华人对泰国的经济起着相当重要的作用。在泰国的华人中客家人占有相当重要的地位,在泰国罗勇府的客家人已有一定规模,研究罗勇客家人的声调特点,与国内客家方言的对比可以更好的促进两地客家人间的交流,使大家的在各方面都能得到更好的合作。而罗勇作为泰国的工业城也是未来中泰高铁线路的必经府,研究罗勇府的客家方言就更具意义。 本文分为三大部分,共有五章。第一部分是绪论,主要综述课题来源和意义及目前客家方言声调方面研究的概况,以及泰国罗勇府的地理位置及客家人的分布情况。第二部分为声调对比部分,主要是对在泰国罗勇地区采集来的语音材料进行声调分析,然后与国内同源地的声调进行对比,分析出两地声调的异同并分析其中的原因。第三部分为分析罗勇客家方言与普通话的声调异同,并为罗勇客家人的后代学习汉语提供建议与意见。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chines) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2019
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/859
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
LIN-ANFA.pdf
  Restricted Access
1.81 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.