Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/870
Title: 现代汉泰语人体核心语素对比研究
Other Titles: การศึกษาเปรียบเทียบคำศัพท์ของร่างกายมนุษย์ภาษาจีนและไทย
A Comparative Study of Human Core Morphemesin Modern Chinese and Thai Languages
Authors: 唐七元
Tang, Qiyuan
麦宝
Mai, Bao
Keywords: ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- Study and teaching
汉语 -- 学习和教学
ภาษาไทย -- การศึกษาและการสอน
Thai language -- Study and teaching
泰语 -- 学习和教学
ร่างกาย -- คำศัพท์
Human body -- Vocabulary
身体 -- 词汇
Issue Date: 2020
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: คำศัพท์เป็นส่วนประกอบพื้นฐานและสำคัญที่สุดของภาษา คำศัพท์บอกร่างกายมนุษย์ก็เป็นส่วนประกอบพื้นฐานและเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของภาษาเช่นกัน งานวิจัยนี้เลือกศึกษาเปรียบเทียบคำศัพท์สำคัญของร่างกายมนุษย์ในภาษาจีนและไทยเป็นเป้าหมายในการวิจัย โดยการเลือกคำศัพท์ที่สำคัญของร่างกายมนุษย์ทั้งสองภาษามาทำการเปรียบเทียบและวิเคราะห์เนื้อหาความหมายและความหมายเชิงเปรียบเทียบ เพื่อค้นหาความแตกต่างของคำศัพท์ที่เกี่ยวกับร่างกายมนุษย์ของทั้งสองภาษา โดยทฤษฎีและผลการวิจัยเป็นไปตามคำศัพท์ ความหมาย ความรู้ทางด้านภาษาศาสตร์และสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการวิจัยหลักของงานวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการผสมผสานระหว่างวิธีการพรรณนาและอธิบาย การตีความและคุณภาพปริมาณและการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ เพื่อสำรวจและศึกษาคำศัพท์ที่สำคัญของร่างกายมนุษย์ในภาษาจีนและไทยอย่างเป็นระบบและครอบคลุมโดยประการแรก บทความนี้อธิบายและตรวจสอบคำศัพท์สำคัญของร่างกายมนุษย์ระหว่างภาษาจีนและภาษาไทย ลำดับต่อมาศึกษาความหมาย รูปแบบการประกอบคำของคำศัพท์ หลังจากนั้นศึกษาวิเคราะห์ความหมายเชิงเปรียบเทียบของคำศัพท์ของร่างกายมนุษย์ทั้งสองภาษาอย่างละเอียด และลำดับสุดท้ายศึกษาสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างคำศัพท์ภาษาจีนกับภาษาไทยและวัฒนธรรมระหว่างชนชาติ ผ่านการวิจัยและการวิเคราะห์มุมมองที่แตกต่าง เพื่อทำให้เรามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของคำศัพท์ร่างกายมนุษย์ภาษาจีนและภาษาไทยอย่างครอบคลุมและเป็นระบบ งานวิจัยนี้ประกอบด้วย 7 ส่วนดังนี้ ส่วนที่หนึ่ง บทนำ ส่วนใหญ่เป็นการกล่าวถึงเหตุผลของการเลือกหัวข้อ สภาพการทำวิจัยในปัจจุบัน ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของการวิจัย ข้อมูลและวิธีการดำเนินงานวิจัยเนื้อหาและทฤษฎีของการวิจัย เป็นต้น ส่วนที่สอง เกี่ยวกับแนวคิดและองค์ประกอบของคำศัพท์ร่างกายมนุษย์ในภาษาจีนและไทย การกำหนดนิยามความหมาย และวิธีการสร้างคำศัพท์ร่างกายมนุษย์รวมทั้งการเกิดคำศัพท์ในรูปแบบอื่นๆ ด้วย ส่วนที่สาม การแบ่งประเภทของคำศัพท์เกี่ยวกับร่างกายมนุษย์ ส่วนใหญ่กล่าวถึงประเภทคำศัพท์ที่ต่างกัน รวมถึงการแบ่งประเภทตามสถานการณ์ ตามความหมายและตามหน้าที่ของคำ การรวมกลุ่มกันของประเภทคำที่ต่างกันเหล่านี้ สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นระบบของคำบอกร่างกายมนุษย์ของภาษาจีนในปัจจุบัน ส่วนที่สี่ เป็นการวิเคราะห์ความหมายของคำศัพท์ร่างกายมนุษย์ระหว่างภาษาจีนและไทยจากคำศัพท์ทั้งสี่ด้าน ตั้งแต่คำศัพท์เกี่ยวกับศีรษะ อวัยวะภายในร่างกายและมือเท้าทั้งสี่ นำมาวิเคราะห์ความหมายของคำศัพท์จากมุมมองของด้านรูปลักษณ์ ด้านการสื่ออารมณ์และด้านบริบทของการใช้คำนั้น ส่วนที่ห้า การเปรียบเทียบความหมายเชิงอุปมาอุปไมยของคำศัพท์ร่างกายมนุษย์ระหว่างภาษาจีนและไทยจากทั้งสี่ด้านประกอบด้วยคำอุปมาร่างกายมนุษย์ คำอุปมารูปร่างหน้าตา คำอุปมาเรื่องเวลาและหน้าที่ของคำอุปมานั้น ส่วนที่หก การหากลยุทธ์ที่เหมาะสมเพื่อช่วยส่งเสริมการสอนภาษาต่างประเทศ ผ่านการเปรียบเทียบข้ามภาษาในด้านคำศัพท์ร่างกายมนุษย์ โดยการใช้กลยุทธ์และตัวอย่างการสอนเหล่านี้ หวังว่าจะมีส่วนช่วยในการสอนคำศัทพ์ให้กับผู้เรียน ส่วนที่เจ็ด เป็นการสรุปเนื้อหาและผลลัพธ์ของการวิจัยในครั้งนี้ รวมถึงข้อเสนอแนะเพิ่มเติมของการวิจัยในครั้งนี้ด้วย
Core words, also known as roots, are the core parts in language, which are commonly used, stable and capable of word formation. Among them, the core morpheme of human body is also the core part of human body words. In this paper, the comparison of core morphemes between Chinese and Thai is taken as the research object, and the core morphemes of Chinese and Thai are selected to compare and analyzed their semantic content and metaphorical meaning, so as to discover the differences of body vocabulary between the two languages. According to vocabulary, semantics, cognitive linguistics and other related research theories, this paper attempts to discuss the core morphemes of Chinese and Thai human bodies, analyze the similarities and differences and characteristics of the core morphemes of Chinese and Thai human bodies, and find out their laws and reasons. This paper mainly uses the methods of description, analysis and explanation, analysis and comparative study to systematically and comprehensively discuss and study the core morphemes of human body in Chinese and Thai. First of all, this paper describes and investigates the core morphemes of Chinese and Thai from a macro perspective, then analyzes the composition and semantics of the core morphemes of Chinese and Thai form a micro perspective, and then makes a comparative study of metaphor and metonymy of the core morphemes of Chinese and Thai. Finally, we will discuss the relationship between Chinese and Thai words and national culture. Through the research and analysis of different perspectives, we have a more comprehensive and systematic understanding of the core morpheme language of Chinese and Thai. This paper is divided into seven parts: The first part is the introduction, which mainly introduces the reason of the topic selection, the present situation of the research, the significance and purpose of the research, the research materials and methods, the research contents and theories, etc. The second part is about the concept and composition of Chinese-Thai core morphemes, the definition and characteristics of core morphemes, and the way of word formation and its productivity. The third part is the types of human core morphemes, which mainly introduces the different classifications of human core words, including semantic field, semantic item and morpheme function. These different classifications reflect the systmaticness of human core morphemes in modern Chinese and Thai. The fourth part is the semantic analysis of Chinese and Thai core morphemes. It analyzed the extended meanings of Chinese and Thai core morphemes from four aspects: head words, visceral words, body words and body words, and analyzes the color meanings of body words from the perspectives of image color, emotion color and style color. The fifth part is a comparative study of metaphor and metonymy of Chinese and Thai core morphemes, which makes a comparative study of metaphor and metonymy of Chinese and Thai core morphemes from four aspects: metaphor of body position, metaphor of body shape, metaphor of body time and metaphor of body function. In the sixth part, through the cross-language comparative study of the extended meanings of the core morphemes of human body, the appropriate strategies that can help promote second language teaching are discussed. By sending some strategies and teaching examples, I hope it can help vocabulary teaching. The seventh part is the conclusion, which summarizes the research contents and achievements of this paper and points out the shortcommings.
核心词又称词根,是语言中最核心的部分,具有通用性强、稳定性强、构词能力强的特点。其中,人体核心语素也是人体词中最为核心的部分。本文以汉泰人体核心语素对比为研究对象,选择汉泰两种语言的人体核心语素来比较和分析其语义内容和隐喻意义,以发现两种语言的人体词汇差异。本文试图以词汇、语义学、认知语言学等相关研究理论为基础,探讨汉泰人体核心语素,分析汉泰人体核心语素的异同和特点,找出规律和原因。本文主要运用描写、分析解释、分析比较研究等方法,对汉泰两种语言中的人体核心语素进行系统、全面的探讨和研究。本文首先从宏观的角度对汉泰人体词汇进行了全面的描述和考察,然后从微观的角度分析了汉泰语人体核心语素的构成和语义,并对汉泰语人体核心语素的隐喻进行了比较研究,最后结合汉泰语人体核心语词与民族文化的关系。通过从不同角度的调查分析,我们对汉语和泰语人体核心语素汇有了较为全面、系统的认识。本文共分为七个部分: 第一部分为绪论,主要介绍课题来源、研究现状、研究意义与目的、研究材料与方法、研究内容与理论等。 第二部分对汉泰语人体核心语素的概念和构成,对人体核心语素的界定、 特性和考察汉泰语人体核心语素的构词方式及其能产性。 第三部分为人体核心语素的类型,主要介绍了人体核心词的不同分类,包括按语义场分、按义项多少分和按语素功能分,这些不同的类聚集合反映出现代汉泰语人体核心语素的系统性。 第四部分为汉泰人体核心语素的语义分析,从头部词、内脏词、躯体词和肢体词四个方面分析汉泰语人体核心语素的引申义,从形象色彩、感情色彩和语体色彩的角度分析人体词汇的色彩义。 第五部分为汉泰人体核心语素的隐喻和转喻比较研究,从人体位置隐喻、 人体形貌隐喻、人体时间隐喻和人体功能隐喻四个方面进行汉泰语核心语素的隐喻和转喻对比研究。 第六部分通过对跨语言人体核心语素引申义的比较研究有助于促进语言教学。语言是民族文化的结晶和载体,人体核心语素所蕴含的文化是民族文化和民族精神的集中体现。 第七部分为结语部分,对本文的研究内容和成果进行了总结,并指出了不足之处。
Description: Thesis (D.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2020
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/870
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
MAI-BAO.pdf
  Restricted Access
3.7 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.