Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/871
Title: | 翻译法和交际法在泰国初级汉语综合课中的运用与比较----以党尚龙中学为例 |
Other Titles: | การประยุกต์ใช้และการเปรียบเทียบวิธีการเรียนการสอนโดยการแปลและวิธีการเรียนการสอนโดยการสื่อสารในหลักสูตรภาษาจีนระดับต้นในประเทศไทย : กรณีศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดด่านสำโรง The Application and Comparative Study on Translation Method and Communicative Approach in the Elementary Chinese Comprehensive Course in Thailand : Take The Dansamrong Middle School As an Example |
Authors: | 付飞亮 Fu, Feiliang 麦薇 Mai, Wei |
Keywords: | โรงเรียนมัธยมวัดด่านสำโรง Dansamrong Middle School ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) Chinese language -- Study and teaching (Secondly) 汉语 -- 学习和教学 (中学) Chinese language -- Translation ภาษาจีน -- การแปล |
Issue Date: | 2020 |
Publisher: | Huachiew Chalermprakiet University |
Abstract: | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ใช้วิธีการแปลและวิธีการสื่อสารมาปรับใช้ในการสอนภาษาที่สอง การสำรวจครั้งนี้จัดทำขึ้นโดยศึกษาจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมัธยมด่านสำโรง รวบรวมข้อมูลการปฏิบัติการเรียนการสอนที่เป็นรูปธรรมการประยุกต์ใช้ วิธีการแปลไวยากรณ์โดยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 วิธีการสื่อสารโดยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 ผู้จัดทำได้ทำการศึกษาภาคปฏิบัติเป็นระยะเวลาสี่เดือน ก่อนที่จะทำการฝึกสอน ขั้นแรกวิเคราะห์สถานการณ์พื้นฐานของเป้าหมายที่เลือกทำการสำรวจ คือ สถานการณ์ของบุคลากรครูในโรงเรียนที่ตั้งกำหนดสื่อการเรียนการสอน ความสามารถทางภาษาจีน เข้าใจจุดประสงค์พื้นฐานของอีกฝ่าย เพื่อให้แน่สใจว่าการเรียนการสอนภาษาจีนนั้นดำเนินไปได้อย่างมีเงื่อนไขที่ชัดเจน จากนั้นผู้จัดทำได้เขียนแผนการสอนโดยยึดหลักสูตรภาษาจีนขั้นพื้นฐานแบบครอบคลุมเพื่อกลุ่มเป้าหมายทั้งสองกลุ่ม ต่อมาปฏิบัติการการเรียนการสอนตามขั้นตอน (ระยะเวลาสี่เดือน) ผู้จัดทำได้ใช้แบบสำรวจ แบบสอบถามและคำถามเพื่อตรวจสอบผลการศึกษาของทั้งสองห้องเรียน สุดท้ายวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียของการสอนทั้งสองรูปแบบ โดยการพิจารณาห้องเรียนครอบคลุมภาษาจีนเบื้องต้นผ่านผลการศึกษาทางสถิติ พิสูจน์ยืนยันถึงวิธีการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐานที่เหมาะสำหรับวิชาภาษาที่สอง สำรวจแผนการสอนด้วยผลการสอนที่ดีขึ้น อีกทั้งนำวิธีการสอนทั้งมาประยุกต์เข้าด้วยกันเป็นวิธีการสอนภาษาจีนระดับต้นในระดับมัธยม การสอนโดยวิธีการสื่อสารเน้นที่ตัวนักเรียนและกิจกรรมเป็นหลัก ตรงตามความต้องการของนักเรียนสำหรับการเรียนรู้และการประยุกต์ใช้ความสามารถทางการสื่อสารทางภาษาตามธรรมชาติของนักเรียนสามารถปลูกฝังผ่านวิธีการสอนโดยการสื่อสารใช้ในหลักสูตรครอบคลุม การสอนด้วยการสื่อสารลดความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่างสองประเทศ และช่วยในการเรียนรู้ต้นแบบภาษาเป้าหมาย อย่างไรก็ตามการสอนด้วยวิธีการสื่อสารจะไม่เน้นโครงสร้างและความถูกต้องของภาษา ในการสอนด้วยวิธีการสื่อสารต้องจัดให้นักเรียนเป็นศูนย์กลาง การจัดการและมีทักษะการควบคุมที่ดีก็เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับครูผู้สอนเช่นกัน มุมมองในส่วนของข้อดีและข้อจำกัดในการจัดการเรียนการสอนแบบการแปลและการเรียนการสอนแบบการสื่อสาร ผู้จัดทำเห็นว่าควรนำทั้งสองรูปแบบมาหลอมรวมและปรับใช้เข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดความสมดุลในการเรียนการสอนที่ดียิ่งขึ้น มีความจำเป็นต้องอ้างอิงผสมผสานวิธีการแปลและวิธีการสื่อสารจากความสำคัญของหลักสูตรภาษาจีนและสมมติฐานของ "การได้รับ" และ "การเรียนรู้ประกอบการเรียนรู้ภาษาที่สอง" ในขณะเดียวกันการนำข้อดีของการสอนแบบการแปลและการสอนแบบการสื่อสารมาหลอมรวมสองวิธีการสอนเข้าด้วยกัน นำาใช้กับการเรียนการสอนภาษาจีนขั้นพื้นฐานระดับต้น คือ วิธีการเรียนการสอนแบบ ESA ในห้องเรียนภาษาจีนเบื้องต้น ผู้สอนเลือกรูปแบบวิธีการเรียนการสอนแบบ ESA ในรูปแบบนี้เป็นการใช้วิธีการเรียนการสอนทั้งสองรูปแบบ โดยให้ข้อมูลอ้างอิงเพื่อปรับปรุงรูปแบบเป็นการเรียนการสอนภาษาจีนระดับต้น The thesis is based on the grammar-translation method and the communicative approach of the second language teaching method. The students of Chinese majors in the eleventh grade of Thai DanSamRong Middle School are the subjects of investigation. The author combines the research object with specific teaching practice to carry out a four-month experimental study. The teacher uses Grammar Translation Method to teach in class three of senior two and uses Communivative Approach to teach in class four of senior two in the experimental design. First, analyzing the basic conditions of experiment subjects, including the Chinese teachers of the school, the setting of Chinese language courses for foreigners and their Chinese proficiency. The purpose is to ensure that the teaching of Chinese as a foreign language is carried out conditionally. Secondly, the author will design two groups of experimental subjects. Thirdly, the authro will take the form of questionnaire survey and test to obtain teaching feedback results of the two classed a stage of teaching. Finally, analyzing the statistical experiment data to get the advantages and disadvantages of the two teaching methods that teach in the elementary Chinese comprehensive classroom. It will Domonstrate which second language teaching method is more suitable for the teaching of elementary Chinese and explore the best teaching model. That is to say, the best teaching model is combining the two teaching methods in elementary Chinese teaching. Because of the advantages an limitations of translation methods and communicative approach, the author purposes a teaching model in which the combination of the two teaching methods is applied to the elementary Chinese comprehensive classroom. The author adopts the Boomerang Sequence in the ESA teaching mode, combining the two teaching methods in the elementary Chinese comprehensive classroom. 本论文以第二语言教学法的翻译法和交际法为理论依据,以泰国党尚龙中学高二年级中文专业的学生为调研对象,结合具体的教学实践,语法翻译法应用于高二三班,交际教学法应用于高二四班,笔者将进行为期四个月的实践研究。在进行教学实践之前,首先,简单地分析所选实践对象的基本情况,即实践对象所在学校的师资情况、教材配置情况及他们的汉语水平能力,了解实践对象基本情况的目的是为了确保汉语教学实践有条件地展开;其次笔者将设计两组实践对象各自的教案进行初级汉语综合课教学;接着经过一个阶段(四个月)的教学,笔者将采取问卷调查和试题检测的方式,获取两个班级的教学反馈成果:最后通过统计实践结果数据,分析两种教学法在初级汉语综合课堂应用中的优缺点,论证哪种第二语言教学法更适合汉语初级阶段的教学,探索出教学效果较佳的教学方案,即两种教学法相结合应用在初级汉语教学中。 鉴于翻译法和交际法的优点和局限性,笔者提出将两者综合运用在初级汉语综合课堂中的教学模式。从汉语综合课的重要性和从第二语言习得的克拉申“习得”与“学习”假说观点来阐述翻译法和交际法相结合进行教学是有必要的。同时利用翻译法和交际法的有利之处,设计将两种教学法相结合应用于初级汉语综合课的一种教学模式——ESA 教学模式。在初级汉语综合课堂中,笔者选择了 ESA 教学模式中的反弹型模式,在此模式下将两种教学法综合运用进行教学,为改进初级汉语教学模式提供借鉴。 |
Description: | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2020 |
URI: | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/871 |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
MAI-WEI.pdf Restricted Access | 2.08 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.