Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/872
Title: 语料库视野下的现代汉语 "牛、羊、狼、蚕" 义项分布及对外汉语教学策略研究
Other Titles: การศึกษาความแตกต่างการใช้คำศัพท์และวิธีการสอนภาษาจีนเกี่ยวกับวัว แกะ หมาป่า ตัวไหมในคลังคำศัพท์
Corpus-Based Study on the Distribution of Meanging Items in Modern Chinese "Cattle Sheep Wolf Silk-Worm" and Teaching Methods of Chinese as a Second Language
Authors: 李仕春
Li, Shichun
孟令宝
Meng, Lingbao
Keywords: ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- Study and teaching
汉语 -- 学习和教学
ภาษาจีน -- คำศัพท์
Chinese language -- Vocabulary
汉语 -- 词汇
สัตว์ -- คำศัพท์
Animals -- Vocabulary
动物 -- 词汇
Issue Date: 2015
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: วิทยานิพนธ์นี้ศึกษาเกี่ยวกับคำ วัว แพะ หมาป่า และตัวไหม โดยหาตัวอย่างการใช้คำเหล่านี้ จากคลังข้อมูลทางภาษา โดยยึดความหมายจากพจนานุกรมจีน (Xiandaihanyu) หรือต่อไปนี้ จะเรียกแบบย่อว่า (Xianhan) เป็นหลักในการศึกษาวิเคราะห์ความหมายรวมถึงการเขียนบรรยายความหมายโดยนัย ในสี่คำนี้ และรวบรวมคำวลี มีการทดลองใช้ผลของการศึกษาคำเหล่านี้มาใช้ในการเรียนการสอนภาษาจีน และหวังว่าการวิจัยครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาในการสอนคำศัพท์เกี่ยวกับสัตว์ในภาษาจีน เนื้อหาจะแบ่งเป็นสี่ส่วนส่วนแรกจะเป็นบทนำ ประวัติการพัฒนาและรวบรวมพจนานุกรมรวมทั้งอธิบายประโยชน์ของการใช้เทคโนโลโยีของคลังข้อมูลทางภาษา ผู้เขียนยังได้มีการสรุปรวบรวมสภาพการวิจัยของคำศัพท์เกี่ยวกับสัตว์ที่เป็นคำพยางค์เดียวอีกด้วย ส่วนที่สองแบ่งเป็น บทที่สอง ถึงบทที่ห้า จากการที่ได้ศึกษาวิเคราะห์คำศัพท์ วัว แพะ หมาป่าและตัวไหม จากคลังข้อมูลทางภาษาที่มีจำนวนมากนำมาวิเคราะห์ความหมายกับพจนานุกรมจีน (Xiandaihanyu) ทั้งยังได้เสนอแนะแนวคิดในการแก้ไขเพิ่มเติมความหมายจากพื้นฐานการใช้ประโยคและการใช้วลีหรือกลุ่มคำ ส่วนที่สามคือบทที่หก ได้นำผลของการแยกความหมายจากการศึกษาวิเคราะห์คำว่า วัว แพะ หมาป่า ตัวไหม มานำเสนอการสอนคำศัพท์เกี่ยวกับสัตว์ที่เป็นคำพยางค์เดียว แต่มีหลายความหมายโดยนำเอาคำศัพท์จากความถี่ที่พบมากไปหาน้องน้อยจัดการการเรียนการสอน เช่น คำศัพท์ที่พบความถี่สูงสุดนำมาสอนก่อน และความถี่ต่ำสุดสอนทีหลัง ส่วนที่สี่ คือบทสรุปของการศึกษาวิจัย คำศัพท์เกี่ยวกับสัตว์ วัว แพะ หมาป่า ตัวไหม รวมถึงข้อปรับปรุงและข้อเสนอแนะ
Based on the corpus technical method, we took four characters, "Niu", "Yang", "Lang", "Can", as the object of our study, presented the destribution of the four items in the modern Chinese language and proposed suggestion to the description of these four characters and relevant word-collection in the Contemporary Chinese Dictionary (the sixth edition). We also designed different teaching methods to the teaching of animal characters, hoping to make contributions to the Chinese teaching for foreigners. There are four parts in this article. The first part is introduction, to recall the development history of Chinese lexicography and the importance of corpus technology in lexicography and summarize the status of monosyllabic animal characters in modern Chiense. The second part is from the second chaper to the fifth Chapter. In this part we proposed that when teaching monosyllabic animal words with multi-meanings, such as "Niu", "Yang", "Lang", "Can", we can take a proper order to teach the meanings, according to the frequency in this article. The fourth part is conclusion, summarizing the main contents of the article and illustrating the limitation of this study.
本文运用语料库技术,以现代汉语中“牛”、“羊”、“狼”、“蚕”为研究对象,分析并重新描写它们在现代汉语中的义项,对《现代汉语词典》第6版(以下简称《现汉》)中这四个词的义项描写、复字词收录等方面进行献疑。并尝试将研究成果运用到对外汉语教学中,希望能对对外汉语中的动物词汇教学提供一些有价值的参考。 文章分为四个部分。第一部分为绪论,主要对中国辞书编纂的发展历程以及语料库技术在词典编纂中的重要作用进行了阐述,并总结了现代汉语单音节动物词的研究现状。 第二部分为第二章到第五章。该部分对“牛”、“羊”、“狼”、“蚕” 在现代汉语中的义项分布情况进行了重新描写,并对《现汉》中这四个字的义项释义及复字词收录等方面,提出了修改建议。 第三部分是第六章,根据前面研究得到的“牛、羊、狼、蚕”的义项分布的结果,提出了单音多义动物词教学,应按照词义的义项分布频率的高低组织教学,频率高的先教,频率低的后教。 第四部分为论文结语,对“牛”、“羊”、“狼”、“蚕”的研究做出归纳,同时总结了文章存在的不足及尚需完善之处。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2015
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/872
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
MENG-LINGBAO.pdf1.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.