Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/873
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | 肖瑜 | - |
dc.contributor.advisor | Xiao, Yu | - |
dc.contributor.author | 裴翠云 | - |
dc.contributor.author | Pei, Cuiyun | - |
dc.date.accessioned | 2022-11-03T13:47:26Z | - |
dc.date.available | 2022-11-03T13:47:26Z | - |
dc.date.issued | 2020 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/873 | - |
dc.description | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2020 | th |
dc.description.abstract | ประกาศนียบัตรนานาชาติ IB ได้รับการคัดเลือกจากนักเรียนมากขึ้นเรื่อยๆ ส่วนหลักสูตรภาษาจีนในหลักสูตรประกาศนียบัตรนานาชาติ IB นั้น เป็นที่รู้จักกันอย่างค่อยเป็นค่อยไป การวิจัยเกี่ยวกับประกาศนียบัตรนานาชาติก็ปรากฏตัวขึ้นมากมายสำหรับชั้นเรียนภาษาการเรียนรู้ทักษะทั้ง 4 ด้าน ของการฟังการพูดการอ่านและการเขียนเป็นทักษะที่ต้องมีความเชี่ยวชาญ ในส่วนทักษะทั้ง 4 ด้าน การเขียนเป็นทักษะที่ยากที่จะเรียนรู้ในทุกหลักสูตรภาษา บทความนี้จะวิเคราะห์การเขียนภาษาจีนระดับพื้นฐาน AbInitio ในหลักสูตรการศึกษาระดับประกาศนียบัตรนานาชาติ IB เพื่อช่วยให้นักเรียน IB เรียนรู้ภาษาจีนได้ดีขึ้นและให้การอ้างอิงการสอนที่มีคุณค่าสำหรับครู IB บทความนี้แบ่งออกเป็นสามบทส่วนหน้าเป็นการแนะนำส่วนใหญ่จะพูดถึงการเลือกหัวข้อและความสำคัญภาพรวมการวิจัยวัตถุประสงค์ วิธีวิจัย เนื้อหา นวัตกรรมและปัญหาหลักที่ต้องการแก้ไขของบทความนี้ บทแรกเป็นภาพรวมประกาศนียบัตรนานาชาติ IB โดยอธิบายว่าประกาศนียบัตรนานาชาติ IB คืออะไร พัฒนาการของประกาศนียบัตรนานาชาติ IB ขั้นตอนการสอบและรูปแบบการสอบของประกาศนียบัตรนานาชาติ IB บทบาทและอำนาจของการสอบประกาศนียบัตรนานาชาติ IB การประเมินการสอบและมาตรฐานของประกาศนียบัตรนานาชาติ IB และแหล่งที่มาของเนื้อหา การสอบประกาศนียบัตรนานาชาติ IB บทที่ 2 คือการวิเคราะห์เนื้อหาาและประเภทของข้อสอบใน 11 ปีที่ผ่านมาของข้อสอบที่ 2 ของการเขียนภาษาจีนระดับพื้นฐาน AbInitio (การเขียน) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552-พ.ศ. 2562 โดยให้ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพสำหรับครูสอน IB ในอนาคต จากนั้นวิเคราะห์ปัญหาการเขียนของนักเรียนที่เก็บรวบรวมโดยจะวิเคราะห์ด้านกฎเกณฑ์และกลยุทธ์การเรียนรู้สำหรับการเขียนภาษาจีนระดับพื้นฐาน AbInitio ผู้เขียนใช้ความรู้พื้นฐานทางทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเขียนบทความนี้ในขณะเดียวกันยังรวบรวมข้อมูลที่วิเคราะห์จากข้อสอบของช่วงหลายปีที่ผ่านมานำเสนอกลยุทธ์การสอนและกลยุทธ์การเรียนรู้สำหรับการเขียน | th |
dc.description.abstract | As IB diploma is chosen by more and more students, the language course of IB-Chinese, is increasingly being known. In response to this phenomenon, research on IB is also emerging in an endless stream. Among the four required parts of all language courses, listening, speaking, reading and writing, the last one is the hardest to know well. This paper will analyze the Chinese An Initio Writing of IBDP, so as to help IB students better learn Chinese and provide valuable references for IB teachers. This paper is divided into three chapters. The beginning part is the introduction part, which mainly explains the background and significance of the topic, research summary, research purpose, research method, content, innovation and major problems to be solved. The first chapter is the introduction about IB, mainly focusing on what is the international diploma, the development of the international diploma, the process, scale, role, authority, evaluations and standards of the international diploma examination and the source of examination content. The second chapter is the analysis on the Chinese Ab Initio examination paper 2 (writing), mainly analyzing the theme, text material, text type and students' problems in the Ab Initio examination paper 2 (writing) from 2009 to 2019, Based on such analysis, this paper summarized the themes and text types in the past 11 years, and provides effective information for teachers who will teach IB in the future. Then the paper analyzes the problems of students in writing based on collected information, including problems related to the normative, linguistic, informational and conceptual aspects. The third chapter is the teaching strategies and learning strategies of Chinese Ab Initio writing. Based on the basic theoretical knowledge, as well as the analysis on previous examination papers, students' writing and IB teachers' access information, this paper proposes teaching strategies and learning strategies on writing. | th |
dc.description.abstract | IB 国际文凭被越来越多的学生所选择,IB 国际文凭中的语言课程中文 也慢慢被熟知,随之对于国际文凭的研究也层出不穷。对于语言课的学习 听、说、读、写这四项是必须要掌握的技能,其中写作算是所有语言课程中较难掌握的一项技能。本文将对 IB 国际文凭大学预科项目中文 Ab Initio写作进行分析,以帮助 IB 学生更好的学习汉语,给 IB 教师提供有价值的教学参考。 本文分为三章。前部分为绪论,主要论述本文的选题背景和意义、研究综述、研究目的、方法、内容和创新性和主要解决的问题。第一章为IB 国际文凭概述,主要概述什么是国际文凭、国际文凭发展情况、国际文凭考试流程及规模、国际文凭考试的作用及权威、国际文凭考试评估及标准和考试内容来源。第二章为中文 Ab Initio 考卷二(写作)分析,主要内容是分析 2009—2019 年中文 Ab Initio 考卷二(写作)的主题、文本材料和文本类型近十一年出现的情况,为以后 IB 教学的教师提供有效的信息。再针对收集到的学生写作语料进行分析学生在写作中存在的问题,主要是写作规范性、语言方面、讯息和概念性理解方面等等。第三章为中文 Ab Initio 写作教学策略和学习策略,笔者基于本文写作的相关理论基础知识同时结合历年考卷分析出的数据、对学生写作分析出的结果和 IB 教师访问信息提出写作教学策略和学习策略。 | - |
dc.language.iso | zh | th |
dc.publisher | Huachiew Chalermprakiet University | th |
dc.subject | ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน | th |
dc.subject | Chinese language -- Study and teaching | th |
dc.subject | 汉语 -- 学习和教学 | th |
dc.subject | ภาษาจีน -- การเขียน | th |
dc.subject | Chinese language -- Writing | th |
dc.subject | 汉语 -- 写作 | th |
dc.subject | The International Baccalaureate Diploma Programme | th |
dc.subject | 国际学校 | th |
dc.subject | โรงเรียนนานาชาติ | th |
dc.subject | 国际文凭 | - |
dc.title | 国际文凭大学预科项目(IBDP)中文Ab Initio写作题研究 | th |
dc.title.alternative | การศึกษาหัวข้อการเขียนภาษาจีนระดับพื้นฐาน Ab Initio ในหลักสูตรการศึกษาระดับประกาศนียบัตรนานาชาติ IBDP | th |
dc.title.alternative | Study on Chinese Ab Initio Writing of International Baccalaureate Diploma Program | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | การสอนภาษาจีน | th |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PEI-CUIYUN.pdf Restricted Access | 4.02 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.