Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/874
Title: 泰国中部小学汉字笔顺教学调查报告 ---- 以培民学校为例
Other Titles: รายงานการสำรวจการเรียนการสอนลำดับขีดอักษรจีนระดับชั้นประถม ศึกษาในเขตภาคกลางประเทศไทย : กรณีศึกษา โรงเรียนเทศบาล 1 ตลาดบางลี่ พานิชอุทิศ
Report of Chinese Character Stroke Order Teaching in the Primary Schools Which Are Located in the Central of Thailand : A Case Study of Pei Min School
Authors: 唐七元
Tang, Qiyuan
郭玉坤
เกียรติศักดิ์ ศรีแพงแสน
Keywords: ตัวอักษรจีน
Chinese characters
汉字
ภาษาจีน -- การเขียน
Chinese language -- Writing
汉语 -- 写作
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- Study and teaching
汉语 -- 学习和教学
Issue Date: 2016
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: วิทยานิพนธ์เล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อสำรวจการเรียนการสอนลำดับขีดอักษรจีนของนักเรียนไทยระดับชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนเทศบาล 1 ตลาดบางลี่ พานิชอุทิศ ทำให้ทราบถึงปัญหาและวิธีการแก้ไขปัญหา จำนวนของตัวอักษรจีนนั้นมีมาก อีกทั้งยังมีตัวอักษรสัญลักษณ์ที่คนจีนใช้ ยิ่งทำให้มีจำนวนที่มากขึ้น ทำให้เห็นได้ว่าขอบเขตของอักษรจีนและวัฒนธรรมจีนนั้นมีการใช้ภาษาที่เป็นระบบและมีผลกระทบต่อวัฒนธรรมของโลก การเปรียบเทียบตัวอักษรจีนและคำอ่านพินอินสามารถเรียนรู้ได้ยาก จำยากและเขียนยากอย่างเห็นได้ชัด จึงทำให้นักเรียนต่างชาติเรียนรู้ได้อย่างลำลาก รวมถึงนักเรียนในประเทศไทยก็พบปัญหานี้เช่นกัน เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาความยกในการเรียนรู้อักษรจีนและการเรียนรู้ลำดับขีดของอักษรจีน รวมทั้งความเข้าใจในการเรียนรู้ลำดับขีดของอักษรจีน ซึ่งมีหลักเกณฑ์พื้นฐานของลำดับขีดอักษรจีน 7 ข้อดังต่อไปนี้ 1) เขียนเส้นนอนก่อนเส้นตั้ง 2) เขียนเส้นตวัดซ้ายก่อนเส้นตวัดขวา 3) เขียนจากบนลงล่าง 4) เขียนจากซ้ายไปขวา 5) เขียนด้านนอกก่อนด้านใน 6) เสร็จด้านในก่อนปิดล้อม 7) เขียนตรงกลางก่อนสองข้าง เป็นต้น จุดมุ่งหมายของการศึกษาครั้งนี้คือการแก้ไขปัญหาของการเขียนลำดับขีดในแต่ละด้านของนักเรียนไทยในระดับชั้นประถมศึกษา กลุ่มที่สำรวจในครั้งนี้คือนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 1 ตลาดบางลี่ พานิชอุทิศในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โดยจำนวนนักเรียนที่สำรวจทั้งหมด 160 คน แบ่งเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 45 คน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 55 คน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 60 คน ผลลัพธ์ที่ได้คือนักเรียนส่วนมากสามารถเข้าใจได้มากกว่า 3 หลักเกณฑ์ขึ้นไปและสามารถจำหลักการเขียนรูปอักษร เสียงและความหมายได้ทำให้บรรลุผลตามเป้าหมายพื้นฐานที่ตั้งไว้ได้
The purpose of this study is through the investigation of Thailand Pei Min School pupils order of strokes of Chinese characters teachings, to explore the problem, in order to explore the way to solve the problem. Compared with Chinese characters and phonetic characters, it is difficult to remember, difficult to identify, difficult to write and other characteristics, foreign learners to learn Chinese characters are very difficult. Thailand students also have this kind of problem. In order to solve Chinese problems in learning, we must clear cognitive order of strokes of Chinese characters, at the same time, the order of strokes of Chinese characters to carry out a detailed analysis and exploration. Chinese character stroke order principle contains the following seven categories: 1) Cross to the vetical; 2) Started to write Na; 3) From top to bottom; 4) Since the left and right; 5) From outside to inside; 6) From outside to inside and closed; 7) In the middle of the first two after. The goal is to explore the problems that Thai pupils learning solved Chinese characters stroke. Research object is the school 4-6 Grade students, the total number of students in the school by the survey is 160, of which the students involved in the survey included four 55 grade students, five grade 45 students and six grade 60 students. Many students already mastered the beyond the specification of three kinds of Chinese character writing and can remember simple Chinese characters and write correctly, to link up the pronunciation, form and meaning perfect, realize the basic requirements of teachers to students to write Chinese characters.
本文的研究目的是通过对泰国培民学校小学生汉字笔顺教学的调研,发掘问题,从而探寻解决问题的方式。 中国汉字文化博大精深,中国人运用的字符也在不断增长。汉字是中国文化的重要组成部分,要学习汉语、了解中国文化必须学好汉字。因此汉字教学非常重要。汉字与拼音文字对比,的确存在难以记忆、难以辨别、难以书写等特征,国外学习者学习汉字都十分困难。泰国学生同样产生了这种问题。为解决汉字学习难题,我们必须清晰认知汉字笔顺,同时对汉字笔顺展开细致化的分析与探索。汉字笔顺原则包含下述七类:1)横先竖后;2)撇先捺后;3)自上而下;4)自左而右;5)自外而内;6)自外而内再闭口;7)中间先两边后。探索的目标是让泰国小学生汉字笔顺学习问题得到解决。调研对象是培民学校 4-6 年级的学生,培民学校受调查总人数是 160 个,其中参与调查的学生包含45 个四年级学生,55 个五年级学生以及 60 个六年级学生。 许多学生已然掌握超出三种汉字书写的规范,且可以记住简单汉字并正确书写,将汉字的音、形、义完美衔接起来,实现了教师对学生汉字书写的基本要求。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2016
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/874
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KIATTISAK-SRIPANGSAEN.pdf8.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.