Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/881
Title: 泰国北榄诺告预科中学初级汉语综合课"一对一"教学模式研究
Other Titles: การศึกษาการใช้รูปแบบวิธีการสอนแบบตัวต่อตัวในการจัดการเรียน การสอนวิชารวมทักษะภาษาจีนขั้นพื้นฐานสำหรับนักเรียนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าสมุทรปราการ
A Study of the Application of One on One Teaching Strategies in Chinese Elementary Comprehensive Course in Triamudomsuksanomklao Samutprakan School
Authors: 李寅生
Li, Kun Yinsheng
董文雯
กนกวรรณ พันนาดี
Keywords: ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
Chinese language -- Study and teaching (Secondary)
汉语 -- 学习和教学 (中学)
Issue Date: 2019
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนแบบตัวต่อตัวในประเทศไทย นอกจากนี้ยังวิเคราะห์และเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างข้อดีและข้อเสียของการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนกับการสอนแบบตัวต่อตัว รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนแบบตัวต่อตัวให้ดียิ่งขึ้น ผู้วิจัยได้ใช้วิธีการวิจัยเชิงเปรียบเทียบ การวิจัยเชิงสำรวจโดยการใช้แบบสอบถาม การทบทวนงานวิจัย และการวิจัยภาคสนาม เพื่อคิดค้นนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องทั้งในเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติ ผู้วิจัยจึงได้ใช้ข้อมูลจากการสำรวจโดยตรงและทำการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการสอนในห้องเรียนกับการสอนแบบตัวต่อตัว เพื่อสรุปวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบตัวต่อตัวที่เหมาะสมกับผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาในประเทศไทย นอกจากนี้การศึกษางานวิจัยยังมีแผนการสอนภาษาจีนในรูปแบบการสอนตัวต่อตัวเป็นนวัตกรรม ซึ่งปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนในประเทศไทยังไม่มีแผนการสอนภาษาจีนแบบตัวต่อตัวและไม่มีการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้สรุปข้อมูลจากการสำรวจและศึกษาวิเคราะห์แผนการสอนภาษาจีนแบบตัวต่อตัว เพื่อใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงให้กับนักวิชาการศึกษาด้านภาษาจีนภายในประเทศไทย สุดท้ายผู้วิจัยได้รวบรวมทฤษฑีและพัฒนาการสอนภาษาจีนแบบตัวต่อตัว โดยใช้โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า สมุทรปราการ เป็นสถานที่ในการศึกษาและสำรวจข้อมูล สรุปได้ว่าการสอนภาษาจีนแบบตัวต่อตัวมีความยืดหยุ่นและความน่าสนใจเป็นอย่างมาก จึงทำให้ผู้วิจัยพบว่ารูปแบบการสอนตัวต่อตัวสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตามการสอนภาษาจีนแบบตัวต่อตัวยังประสบปัญหาเร่งด่วนที่ต้องแก้ไข เช่น ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยจีน และปัญหาที่เกี่ยวข้องกับระบบการจัดการเรียนการสอนแบบตัวต่อตัว เป็นต้น
The purposes of the contrastive and survey study are to support and improve one on one teaching method of Chinese language in Thailand, to analyse and compare the differences of pros and cons between classroom teaching method and one on one teaching method, and also to adjust the effectiveness of using one on one teaching method. The researcher conducted the research by questionnaires, literature review, and fieldwork in order to find related theory and action innovations. According to those, all information was gathered from direct survey and comparing between in classroom and one on one teaching method, so that to find out some suitable one on one teaching methodd for secondary students in Thailand. Nowaday, there are no one on one Chinese teaching lesson plan and no related reviewed literature in Thailand. In this thesis included one on one Chinese teaching lesson plans as the innovation so that it can be references for educators who studying Chinese language in Thailand. As this thesis conducted and gathered information in Triumudomsuksanomklao Samutprakan School, it had found that using one on one teaching method for teaching Chinese language were flexible and very interesting and this could boost students' learning competence up. However, few problems of using one on one teaching method are needed to be urgently fixed such as the differences between Thai and Chinese culture, and related problems of teaching one on one method.
本文的研究目的在于推动和改进泰国的一对一汉语教育课堂的发展,也通过对比分析传统集体课堂与一对一课堂的差别和优劣势,提升泰国汉语一对一课堂的教学效率。本次研究主要采用了比较研究法、问卷调查法、文献研究法、实地调研法等,试图从理论和实践两方面都做到有所创新和突破。本人通过最直观的调查和第一手的数据,以及对比传统集体课堂与新兴一对一课堂的差异,从而总结出适用于泰国中学生的一对一教学方法。 另外,本文在泰国的汉语一对一教案方面有所创新。目前,泰国的教育界并没有公开的汉语一对一教学教案,也没有相关方面的研究文献,所以笔者将自己在实践调查中所总结的一对一教案进行分析与研究,并期冀泰国的汉语教育工作者提供参考。 总体而言,本文通过梳理一对一教学的理论和发展,最后以泰国北榄诺告预科中学为实践和调研场所,得出了一对一汉语教学在充分发挥其灵活性和趣味性的情况下,可以大大提升学生的学习效率的结论。当然泰国一对一汉语教学也面临着一些亟待解决的问题,诸如中泰文化上的差异,及一对一教学的系统性问题等。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2019
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/881
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanokwan-Phannadee.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.