Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/892
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | 艾红娟 | - |
dc.contributor.advisor | Ai, Hongjuan | - |
dc.contributor.author | 陈月娇 | - |
dc.contributor.author | กานดา ฉัตรแก้วไพศาล | - |
dc.date.accessioned | 2022-11-05T09:18:20Z | - |
dc.date.available | 2022-11-05T09:18:20Z | - |
dc.date.issued | 2016 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/892 | - |
dc.description | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2016 | th |
dc.description.abstract | การที่จะเรียนรู้ภาษาใดภาษาหนึ่งให้ได้นั้นต้องมีความสามารถทั้ง 4 ทักษะ คือการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ในทักษะทั้ง 4 นี้ "การเขียน" นับว่าเป็นทักษะที่ยากที่สุด อักษรจีนเป็นอักษรภาพ ยิ่งกว่านั้นยังเป็นอักษรที่มีการเขียนซับซ้อน มีเส้นขีดและจำนวนอักษรที่มากมาย เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยากสำหรับการเขียนตัวอักษรผิดของชาวต่างชาติที่เรียนภาษาจีน นักเรียนไทยที่เรียนภาษาจีนก็เช่นเดียวกัน มักจะเขียนตัวอักษรจีนผิดอย่างง่ายดาย และกว่าจะคุ้นเคยกับตัวอักษรเหล่านั้นต้องทุ่มเทเวลาอย่างมากมาย การวิจัยชุดนี้เป็นการศึกษาการเรียนภาษาจีนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า โดยรวบรวมเอาข้อมูลของตัวอักษรจีนที่นักเรียนมักเขียนผิดด จากข้อสอบ เรียงความ การเขียนตามคำบอก การบ้านต่างๆ นำมาสรุปแยกเป็นประเภทต่างๆ ศึกษาและวิเคราะห์ เราได้พบว่าตัวอักษรที่นักเรียนไทยส่วนใหญ่มักเขียนผิดนั้น แบ่งเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. ความผิดพลาดของเส้นขีด (ประกอบไปด้วย เส้นขีดเขียนขาดหรือเกิน เส้นขีดเปลี่ยนแปลง และความสัมพันธ์ของเส้นแต่ละขีด) 2. ความผิดพลาดของส่วนประกอบของตัวอักษรจีน (ประกอบด้วย การเปลี่ยนรูปของตัวประกอบ การเพิ่ม หรือลดตัวประกอบ และความสมดุลของตัวประกอบ) 3. ความผิดพลาดทั้งรูปตัวอักษร 4. และความผิดพลาดของขั้นตอนการเขียน จากนั้นนำข้อมูลไปศึกษาวิเคราะห์สาเหตุอันนำมาซึ่งความผิดพลาดทั้งทางอัตวิสัยและภววิสัย อนึ่งโครงสร้างอันซับซ้อนของอักษรจีน ปริมาณอักษรที่มากมาย กฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน อักษรเดียวหลายเสียงหลายความหมาย อักษรที่มีเสียงเหมือนกันแต่ต่างตัวอักษรกัน เสียงใกล้เคียงกันของอักษรจีน ตลอดจนแบบเรียน ครูผู้สอน วิธีการสอนและปัญหาของตัวผู้เรียนต่างๆ คือ ปัจจัยที่ทำให้เกิดข้อผิดพลาด และเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้นำเสนอแนวทางกลยุทธ์การสอน โดยรวบรวมเอาแนววิธีการสอนตัวอักษรจีน สำหรับชาวต่างชาติของจีนและวิธีการสอนเท่าที่มีอยู่ในปัจจุบัน กำหนดยุทธวิธีการสอนที่เป็นแบบฉบับมีระเบียนและมีขั้นตอนสำหรับนักเรียนไทย เพื่อที่จะสร้างพื้นฐานที่ดีลักษณะที่ดีของการเรียนอักษรจีน นอกจากนี้ ยังเสริมยุทธวิธีการสอนที่สนุกสนานสร้างความสนใจให้กับนักเรียนมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อที่จะขจัดปัญหานักเรียนที่ขาดความกระตือรือร้นในการเรียนให้หันมาสนใจ และแก้ไขปัญหาสถานการณ์การเรียนที่ไม่เหมาะสม หวังเป็นอย่างยิ่งว่า อาศัยการวิจัยในนี้หลอมรวมแนววิธีการสอนที่เข้มงวดกวดขันแบบโบราณ ร่วมกับแนววิธีการสอนสมัยใหม่ที่มีสื่อนวัตกรรมอันหลากหลายทันสมัย สามารถช่วยเหลือนักเรียนไทยได้ยกระดับประสิทธิภาพในการเรียนภาษาจีนให้สูงขึ้น | th |
dc.description.abstract | When learning a language, listening, speaking, reading and writing are the basic skills that you must learn. Form those four, writing can be the most difficult. The Chinese character is a glyph which can have a lot of complex strokes. For foreign students studying Chinese, it is easy to make mistakes writing Chinese character. Students must spend a lot of time getting to know the Chinese character. The main object of this study was based on student's work in grade 11 of Debsirin Romklao School, Thailand. At this stage, the quality of writing was checked, by looking for wrongly written or mispronounced characters from their papers, writing dictation and homework, which were then summarized and analyzed. Analysis of causes for wrong characters has been both objective and subjective reasons, such as strokes of Chinese characters having a complicated structure, numerous rules, Chinese characters multi-tone polysemy, approximate pronunciation and many homophones. Teaching materials, teachers, teaching methods and students can also cause problems. For solving the problem of the difficulty in leaning Chinese characters, according to China's foreign strategy for teaching Chinese characters, changes to the learning and teaching method must be made. For many existing teaching methods, the writer formulates that the more conscientious Thai students establish a good foundation for learning Chinese characters. In addition, the writer puts forward the idea that promoting students' interest in learning is a good teaching strategy that may help to solve the issues of Thai students not having a positibe attitude and often suffering from poor individual learning conditions. This study suggests a comprehensive teaching strategy with a fusion of traditional teaching methods and lively new multimedia teaching methods. I hope that throug this study Thai students can improve their learning efficiency of learning Chinese. | th |
dc.description.abstract | 听、说、读、写是学会一种语言所需具备的基本能力,其中“写”的 难度最高。汉字是象形文字,更是笔画多而且繁复众多的非拼音文字。外国学生在学习的过程中难免写错别字,泰国学生在学习汉语时,也很容易会写错别字,必须花很大的功夫去熟悉。本研究是以泰国“贴诗琳隆高中学”高中的学生为对象,从他们的试卷、作文、听写和作业中找出这个阶段中, 学习汉字容易出现的错字和别字,进行归纳统计和分析研究。泰国学生主要的汉字书写错误为笔画偏误(包含笔画增减、变形、笔际关系不均)、部件偏旁偏误(包扩部件变换与增减和部件组合)、整字偏误、笔顺偏误,四大类的汉字书写错误。分析探讨错别字的产生原因有客观和主观原因,汉字笔画结构繁复,数量众多,规律性不强,汉字多音多义、近似发音和同音字多,教材、教师、教学方法及学生等多种问题。 为解决汉字学习问题提出应对措施,综合了中国对外汉字教学策略及 许多现有的教学方法,拟定了较为中规中矩的泰国学生的汉字教学策略,为学生建立良好的学习汉字基础,另外提出了提升学生学习兴趣的教学策略,对解决泰国学生态度不积极,个别学习状况不佳的问题,希望透过本研究融合传统严谨的教学方法与新式的多媒体活泼教材方法的综合教学策略,可以帮助泰国学生提升学习汉语的学习效率。 | - |
dc.language.iso | zh | th |
dc.publisher | Huachiew Chalermprakiet University | th |
dc.subject | ตัวอักษรจีน | th |
dc.subject | Chinese characters | th |
dc.subject | 汉字 | th |
dc.subject | ภาษาจีน -- การเขียน | th |
dc.subject | Chinese language -- Writing | th |
dc.subject | 汉语 -- 写作 | th |
dc.subject | ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน | th |
dc.subject | Chinese language -- Study and teaching | th |
dc.title | 泰国高中生学习汉语常见的错别字及对策分析 —— 以贴诗琳隆高中学为例 | th |
dc.title.alternative | การศึกษาวิเคราะห์ตัวอักษรจีนที่นักเรียนไทยมักเขียนผิดและแนวทางแก้ไขกรณีศึกษา : นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า | th |
dc.title.alternative | The Analysis and Counter Measure of Thai Senior School Student Study Chinese in Common Wrongly Written in the Case Study of Debsirin Romkhlao School | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | การสอนภาษาจีน | th |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KANDA-CHATKEAWPAISAL.pdf Restricted Access | 3.22 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.