Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/893
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | 李志艳 | - |
dc.contributor.advisor | Li, Zhiyan | - |
dc.contributor.author | 古月媚 | - |
dc.contributor.author | จันทรา แซ่คู้ | - |
dc.date.accessioned | 2022-11-05T09:27:09Z | - |
dc.date.available | 2022-11-05T09:27:09Z | - |
dc.date.issued | 2017 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/893 | - |
dc.description | Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2017 | th |
dc.description.abstract | 客家先民于国内经过了五次的大规模南迁, 后散布于海外东南亚国家, 甚至遍布世界全球各国. 背井离乡旅居海外的客家人为了保留, 传承客家文化, 为了互相照顾, 联系乡情和乡谊, 便设立了众多的客家会馆. 客家会馆在海外客家文化的传承和传播过程中扮演了重要的角色, 同时也是了解和研究海外客家文化的一个重要线索和窗口. 本论文系泰国客家会馆的民俗文化研究. 笔者从客家的起源以及五次大规模迁徙入手, 介绍了泰国客家人的由来及发展, 泰国客家人的基本现状, 并分析了泰国客家会馆在客家文化传承和族群建设中的重要作用. 接着, 笔者对泰国的客家会馆进行了走访调查, 对泰国客家会馆的地理位置, 建筑风格, 功能作用等方面进行调查分析, 对其历史和发展现状进行研究探讨. 最后, 笔者在已有的史料, 访谈记录, 相关档案数据的基础上, 对泰国客家会馆所体现的民俗文化进行分析, 就生活民俗文化, 民间节俗文化, 民间信仰文化, 民间禁忌文化等角度, 提出自己的观点和看法. 最后笔者希望此研究能够填补相关空白, 引起国内外对泰国客家人所传留下来的文化进行研究. | th |
dc.description.abstract | บรรพบุรุษชาวจีนฮากกาหลังจากที่ได้ผ่านพ้นการอพยพและเคลื่อนย้ายถิ่นฐานจากภาคเหนือสู่ใต้ครั้งใหญ่ถึงห้าครั้งในประเทศจีน แล้วยังมีอีกส่วนหนึ่งกระจัดกระจายมายังประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือไกลออกไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลก ชาวจีนฮากกาที่พำนักอยู่ในต่างประเทศ มีความต้องการที่จะอนุรักษ์สืบทอดวัฒนธรรมประเพณีของชาวฮากกาที่อพยพดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกันและติดต่อไปมาหาสู่ระหว่างเพื่อนชาวฮากกาที่อพยพมาจากแดนไกลด้วยกัน จึงได้มีการจัดตั้งชมรมสมาคมต่างๆ เพื่อชาวจีนฮากกาเป็นจำนวนมากในประเทศไทย ดังนั้น สมาคมฮากกาจึงมีบทบาทสำคัญในการที่จะสืบทอดจรรโลงวัฒนธรรมชาวจีนฮากกาในประเทศไทย ขณะเดียวกันก็เป็นแหล่งเรียนรู้ค้นคว้าวิจัยวัฒนธรรมวิจัยวัฒนธรรมชาวจีนฮากกาในต่างประเทศสำหรับผู้ที่มีความสนใจ วิทยานิพนธ์ในหัวข้อการศึกษาวัฒนธรรมและประเพณีชาวฮากกาจากสมาคมฮากกาประเทศไทยฉบับนี้ ได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีต่างๆ ซึ่งผู้เรียนได้ทำการวิจัยตั้งแต่ความเป็นมาของชาวฮากกา การอพยพสู่ภาคใต้ของจีนครั้งใหญ่โดยได้แนะนำที่มาที่ไป การพัฒนาของชาวฮากกา สภาพพื้นฐานโดยรวมของชาวฮากกาในประเทศไทย และวิเคราะห์ถึงสมาคมฮากกาในประเทศไทยที่มีความสำคัญต่อการสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีต่างๆ รวมถึงการสร้างสรรค์วิถีชีวิตกลุ่มชุมชนชาวฮากกาในไทย ผู้เขียนยังได้ทำการตรวจสอบการกระจายตัวตำแหน่งที่ตั้งของสมาคม รูปแบบสถาปัตยกรรมการก่อสร้าง การดำเนินงานต่างๆ ของสมาคมเพื่อจะทำความเข้าใจต่อความเป็นมา และการพัฒนาทั้งในปัจจุบนและอนาคต โดยผู้เขียนได้รวบรวมข้อมูลทางประวัติศาสตร์ บันทึกต่างๆ รวมถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยพื้นฐานเกี่ยวกับสมาคมฮากกาและทำการวิเคราะห์ถึงสภาพปัจจุบันในการดำรงไว้ซึ่งวัฒนธรรมประเพณีที่จะเห็นได้จากการดำเนินงานของสมาคมฮากกาในประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นด้านวิถีชีวิตความเป็นอยู่วัฒนธรรมประเพณีต่างๆ ความศรัทธา ความเชื่อของชาวฮากกา ตลอดจนข้อห้ามต่างๆ ทางด้านวัฒนธรรมประเพณี พร้อมทั้งได้เสนอชี้แนะจุดยืนและทัศนคติของผู้เขียนที่มีต่อสิ่งเหล่านี้ สุดท้ายนี้ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าวิทยานิพนธ์เล่มนี้จะเป็นประโยชน์และสามารถเติมเต็มช่องว่างให้กับผู้ที่สนใจด้านวัฒนธรรม ประเพณีต่างๆ ของชาวจีนฮากกาในประเทศไทย ซึ่งมีคุณค่าควรแก่การวิจัยและค้นคว้าสืบต่อไป | th |
dc.description.abstract | Hakka ancestors, originally inhabited around the downstream area of Yellow River in China during the 4 to the 19 century, afte 5 diasporas so pass southward, scattered around South East Asian countries and around the world. For the Hakka peoplee sojourning overseas as strangers to help each other, maintain fellow-townsmen ship and pass down the Hakka heirtage, numerous Hakka Associations were estanlished, which have played an important role in the transmission and inheritance of the Hakka tradition overseas; therefore these associations are trace and window for recognizing and inspecting the overseas Hakka culture. This thesis focuses on the tradition and folk customs of Hakka. It traces back to the diasporas of the Hakka ancestors, introduces the origin and development of the Hakka people in Thailand and their current situation, and analyzed how important the Hakka associations were to the prosperity of the Hakka community and the passing down of their of their culture in Thailand. Next, by personal visit to the associations in Thailand, the author investigated the location, the architectural style and its functions, along with the histories and present development of the Hakka associations. Finally, based on the historical data, interview records and statistical data, the author examines the Hakka traditions, and present personal perspectives on daily life, festive and ceremonious customs, religious life and the taboos. This research aims to fills in the blank of the students in Hakka people in Thailand, and to spur further investigations on the Hakka legacy in Thailand. | th |
dc.language.iso | zh | th |
dc.publisher | Huachiew Chalermprakiet University | th |
dc.subject | สมาคมฮากกาประเทศไทย | th |
dc.subject | Thai Hakka Association | th |
dc.subject | 泰国客家会馆 | th |
dc.subject | ฮากกา -- ความเป็นอยู่และประเพณี | th |
dc.subject | Hakka (Chinese people) -- Social life and customs | th |
dc.subject | 客家人 -- 社会生活与习俗 | - |
dc.title | 泰国客家会馆中的民俗文化研究 | th |
dc.title.alternative | การศึกษาวัฒนธรรมและประเพณีชาวฮากกาจากสมาคมฮากกาประเทศไทย | th |
dc.title.alternative | A Study of Customs and Culture of The Thai Hakka Association | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th |
dc.degree.discipline | การสอนภาษาจีน | th |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
CHANTHA.pdf Restricted Access | 2.69 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.