Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/915
Title: 汉泰版《还珠格格》词汇比较研究
Other Titles: ศึกษาเปรียบเทียบคำศัพท์ในละครเรื่ององค์หญิงกำมะลอในพากย์ภาษาจีนกับพากย์ภาษาไทย
Comparative Study of the Chinese and Thai Vocabulary Used in The Drama Princess Returning Pearl
Authors: 田春來
Tian, Chunlai
廖楚燕.
มนิดา อาศัยพานิชย์
Keywords: ภาษาจีน -- คำศัพท์
Chinese language -- Vocabulary
汉语 -- 词汇
ภาษาไทย -- คำศัพท์
Thai language -- Vocabulary
泰语 -- 词汇
ภาษาจีน -- การแปลเป็นภาษาไทย
Chinese language -- Translation into Thai
Issue Date: 2017
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: 众所周知, 大约30年前, 汉语是重要语言之一. 在世界上发展变大变快的社会, 泰国进入中国的文化, 传统和风俗. 中国的语言是很重要的泰国更多地了解环境中学习中国语言和沟通. 目前, 泰国已经导致中国的许多文化, 比如:电视剧, 电影和食物. 现在泰国人从小到大来学习汉语, 如果要学汉语语言, 首先学汉语是词汇;词汇是重要语言之一, 就认识汉语词汇的来源, 教学词汇的定义和使用的特色. 汉语词汇包括词汇结构, 词汇方式等等. 由于中国和泰国的词汇有相同和不相同的. 例如:汉泰词汇翻译, 有些直接逐字逐句的词汇, 有的直译翻译, 有的意译法翻译. 因此, 本文研究汉泰版《还珠格格》词汇比较. 随着原本《还珠格格》有丰富词汇, 笔者选一种词汇是成语. 成语是从古代的传说, 故事等方面. 使原本和译本翻译成语有什么区别和差异, 使用成语的内容含义. 最后, 本文研究汉泰版《还珠格格》词汇比较, 以比论文分类五章. 第一章绪论第二章《还珠格格》的汉泰实词对比第三章《还珠格格》的汉泰虚词对比第四章《还珠格格》的汉泰成语对比第五章结论.
นับตั้งแต่ประมาณ 30 ปีก่อน ภาษาจีนเริ่มมีบทบาทและอิทธิพลบนเวทีโลกมากขึ้น จึงมีผู้คนมากมายหันมาให้ความสนใจในการเรียนรู้ภาษาจีน และได้รับอิทธิพลวัฒนธรรม เชื้อชาติ และประเพณีต่างๆ เข้ามาในประเทศไทย ดังนั้น ภาษาจีนจึงเป็นภาษาที่สำคัญสำหรับคนไทยในการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมในการเรียนภาษาจีนและสื่อสาร ปัจจุบันประเทศไทยได้นำวัฒนธรรมของประเทศจีนเข้ามามากมาย เช่น ละคร ภาพยนตร์ อาหาร เป็นต้น จึงเป็นจุดเริ่มต้นในการเรียนภาษาจีน อันดับแรกที่ต้องเรียนภาษาจีนคือคำศัพท์ คำศัพท์เป็นส่วนหนึ่งของภาษาที่เกิดขึ้นจากต้นกำเนิดของแต่ละประเทศ คำศัพท์เกิดจากตัวอักษระและแฝงความหมายของคำศัพท์คำนั้นๆ และมีโครงสร้างและวิธีการใช้คำศัพท์ แต่เนื่องจากประเทศจีนและประเทศไทยมีความแตกต่างและคำที่ใกล้เคียงของความหมายคำศัพท์ การแปลความจากฉบับจริงมาเป็นฉบับแปลจะมีคำศัพท์บางส่วนที่ไม่สามารถแปลความได้หรืออาจมีเปรียบเทียบความหมายใกล้เคียงกัน ดังนั้น ผู้วิจัยจึงต้องการศึกษาการเปรียบเทียบคำศัพท์ภาษาจีนและภาษาไทยจากหนังเรื่ององค์หญิงกำมะลอ เนื่องจากในหนังเรื่ององค์หญิงกำมะลอส่วนใหญ่มีการเขียนสื่อข้อความ ความหมายจากคำสุภาษิตจึงต้องมีแปลต้นฉบับ โดยการแปลตรงตัว การถอดความหมาย การเปรียบเทียบ การพรรณนา จึงทำให้เกิดปัญหาด้านการใช้คำศัพท์และการแปล บางทีคำศัพท์ไม่สามารถอธิบายความหมายได้ สุดท้ายผู้วิจัยได้ศึกษาการเปรียบคำศัพท์ภาพจีนและไทย โดยแบ่งออกเป็น 5 บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 การเปรียบเทียบคำศัพท์จีนไทยของคำเต็ม บทที่ 3 การเปรียบเทียบคำศัพท์จีนไทยของคำพร่อง บทที่ 4 การเปรียบเทียบคำศัพท์จีนไทยของสำนวน บทที่ 5 สรุป หวังว่าสามารถเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนรู้ภาษาจีนและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
About 30 years ago, the Chinese language began to play a greater role and influence on the world stage. So many people turned their attention in learning Chinese language and influenced the culture, race and traditions in Thailand. Therefore Chinese language is an important language for the Thai people to learn, depending on the Chinese language, leaning environment and communication. Today, Thailand has brought in a lot of Chinese culture, such as drama, food, movie, etc. It is the beginning of learning Chinese. The most important thing to learn Chinese language is to learn first the vocabulary is part of the language that originated in each country. Terminology is derived from the alphebet and latent meaning of the term, the structure in order to use property the vocabulary. But since China and Thailand are different and yet the term is close to the word meaning tranlation form the original to the translated version. Finallt, th researcher studied the Chinese and Thai conjugations. It is divided into 5 chapters. Chapter 1 Introduction, Chapter 2 Comparison of Real words Thai Chinese, Chapter 3 Comparison of Function words Chinese version to Thai version, Chapter 4 Comparison of idiom Chinese version to Thai version, Chapter 5 Summary. The researcher hopes that, this would be beneficial to those who learn Chinese language and can be use in their everyday life.
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2017
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/915
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
MANIDA-ASAIPANIT.pdf
  Restricted Access
2.09 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.