Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/918
Title: 跨文化交际视野下的汉泰动物义场代表词义项对比及教学策略研究
Other Titles: การเปรียบเทียบความแตกต่างด้านวัฒนธรรมการใช้คำศัพท์และวิธีการสอนเกี่ยวกับสัตว์ระหว่างจีน - ไทย
Comparison of the Cross Cultural Differences between the Chinese Language and Thai Language in the Usage of Words and in the Teaching Methodology Concerning Animals
Authors: 李仕春
Li, Shichun
李水源
ภาณุวัฒน์ เลิศประเสริฐพันธ์
Keywords: สัตว์ -- คำศัพท์
Animals -- Vocabularies
动物 -- 词汇
ภาษาจีน -- คำศัพท์
Chinese language -- Vocabularies
汉语 -- 词汇
ภาษาไทย -- คำศัพท์
Thai language -- Vocabularies
泰语 -- 词汇
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- Study and teaching
汉语 -- 学习和教学
Issue Date: 2014
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: ส่วนสำคัญของการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ คือ คำศัพท์ ซึ่งในส่วนนี้ยังเป็นส่วนที่มีข้อบกพร่องอย่างมาก ทำให้เกิดความยากลำบากต่อการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ โดยเฉพาะคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับสัตว์ เนื่องจากว่าคำศัพท์เหล่านี้มีความเกี่ยวข้องกับด้านวัฒนธรรมอย่างมาก รวมทั้งยังมีความเปลี่ยนแปลงตามสภาพความเป็นอยู่ด้วย ปัจจุบันนี้ การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับวัฒนธรรมภาษาที่เกี่ยวกับสัตว์ยังล้าหลัง โดยเฉพาะในการเรียนการสอนของไทยยังไม่ได้ให้ความสำคัญมากนัก จากเหตุผลดังกล่าว วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงได้วิจัยเกี่ยวกับคำที่ใช้เป็นคำแทนชื่อของสัตว์ โดยหารูปแบบประโยคจากคลังข้อมูลที่ได้รับการเก็บรวบรวมไว้เป็นพื้นฐาน วิจัยหาข้อเท็จจริงจากการใช้ประโยคในความหมายที่เป็นจริงและเหมาะสมกับวัฒนธรรมที่เป็นอยู่ของไทย วิทยานิพนธ์นี้แบ่งเป็นสี่ส่วน ประกอบด้วย 1. คำนำเรื่อง กล่าวถึงที่มาของหัวข้อ วิธีการวิจัย ผลการวิจัยที่มีอยู่ทั้งภายในและภายนอกประเทศ 2. ส่วนของการวิจัยเปรียบเทียบระหว่างไทย - จีน โดยเริ่มจากบทที่หนึ่งถึงบทที่สี่ ผู้เขียนได้เลือกชื่อของสัตว์สี่ชนิดมาใช้เปรียบเทียบวิจัย วิเคราะห์และวิจัยพื้นฐานของความหมาย โดยการใช้ข้อมูลจากคลังข้อมูลของ CCL และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สุดท้ายยังได้เสนอแนะวิธีการเรียนการสอนที่ใช้คำศัพท์เกี่ยวกับสัตว์ด้วย 3. เริ่มจากบทที่ห้า การเปรียบเทียบถึงความแตกต่างทางด้านการเรียนการสอนวัฒนธรรมทางภาษาที่เกี่ยวข้องกับสัตว์ 4. บทสรุป เป็นการสรุปผลของงานวิจัยและวิเคราะห์ส่วนที่ยังบกพร่องของงานวิจัย
Vocabulary teaching is always the important part of teaching Chinese as a second language. But this is a weak part still. As a vocabulary part the animal words has its own culture meaning and flexible form, which makes great difficulties when teaching foreign student Chinese. At present in Thailand educational area the study towards Chinese animal words' culture and meaning is relatively backward. Also it is not be enough emphasized in the teaching practice. Based on the above reasons this paper are more representative of the Chinese word for the study of animals, and from the perspective of the corpus, discussed the Chinese animal words in the practical application of cultural meaning, and compare them with the appropriate vocabulary in Thai. In this paper, a total of four parts: The first part is the introduction, in the preface where the author describes the reason for the topic, research results. The second part is a comparative analysis of the article, from the first chapter to chapter IV. By using the 4 chosen common animal words the author analyzed their basic meanings distributions. Also through research of the resources both in Beijing Language and Culture University CCL corpus, and Chulalongkorn University in Thailand, the author proposes to add in more items of meaning for those animals words, and givers the teaching suggestions as well. The third part of the fifth chapter composed from a cross-cultural perspective to discuss the animal vocabulary when teaching a foreign Chinese. The fourth part is the conclusion, summarizes the viwes of this paper and an analysis of the study's shortcomings.
词汇教学自始至终是对外汉语教学的重点部分,但是这一部分的教学仍旧比较薄弱。动物词汇是汉语词汇中的一部分,但是其自身具有浓厚的文化色彩,灵活多变的形式,这就给对外汉语的动物词汇教学造成了很大的困难。 目前,泰国教育学界关于汉语动物词的文化以及意义的研究还比较落后,而且在泰国的汉语教学实践中动物词语也一直未引起足够的重视。基于以上原因,本文以汉语中比较有代表的动物词语为研究对象,并从语料库的角度出发,讨论了汉语动物词汇在实际应用中的文化色彩,并与泰语相应的词汇进行对比。 本论文一共分为四个部分: 第一部分是绪论部分,论述了本文的选题意义、研究方法、国内以及国外的研究成果。 第二部分是本文的对比分析部分,由第一章至第四章组成。笔者从选取的四个十分常用的汉语动物词汇作为研究对象,分析了其本身的义项分布,并通过北京语言大学 CCL 语料库、以及泰国的朱拉隆功大学的语料库的查找后又对原有的义项进行了补充,并提出了相应的教学建议。 第三部由第五章组成,从跨文化的角度出发讨论了对外汉语的动物词汇教学。 第四部分是结语,总结了本文的观点并且分析了研究中的不足。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2014
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/918
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PANUWAT-LERDPRASERTPUN.pdf1.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.