Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/925
Title: 五步教学法在泰国高中汉语教学中的使用 及问题分析——以芭提雅市十一中学为例
Other Titles: การเรียนการสอนภาษาจีนโดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอนและการวิเคราะห์ปัญหา : กรณีศึกษานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเมืองพัทยา 11 (มัธยมสาธิตพัทยา)
The 5 Steps of Learning Process for Teaching and Learning Chinese and Its Problem Analysis : A Case Study of Thai Senior High School Students of Pattaya City 11 School
Authors: 唐七元
Tang, Qiyuan
张清柳
บุญสิตา อารีย์พงษ์
Keywords: ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
Chinese language -- Study and teaching (Secondary)
汉语 -- 学习和教学 (中学)
การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
Student-centered learning
以学习者为中心的教学
Issue Date: 2016
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในปัจจุบันครูผู้สอนมักจะละเลยการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Child Centered) จึงส่งผลกระทบไปสู่การพัฒนาที่ไม่ยั่งยืนและทำให้ผู้เรียนขาดทักษะในการคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การสื่อสาร และการทำงานร่วมกัน เป็นต้น ซึ่งทักษะเหล่านี้เป็นทักษะที่สำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนั้นครูผู้สอนควรมีการปรับปรุงและส่งเสริมรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะดังกล่าว โดยการนำกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน คือ 1) การตั้งคำถาม 2) การแสวงหาเทคโนโลยีสารสนเทศ 3) การสร้างความรู้ 4) การสื่อสาร 5) การตอบแทนสังคมหรือสร้างสรรค์สิ่งใหม่ โดยนำมาใช้ปรับในด้านการเรียนการสอน จากกระบวนการดังกล่าว ทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์ ทักษะในการใช้เทคโนโลยี การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และทักษะในการสื่อสารและการทำงานร่วมกันได้อย่างยั่งยืน การนำกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอนมาใช้ในการเรียนการสอนภาษาจีนให้มีประสิทธิภาพนั้น ผู้สอนควรเลือกใช้สื่อที่หลากหลายและมาจากแหล่งการเรียนรู้ที่มีเนื้อหาเหมาะสมกับผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ฝึกฝนและพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาจีนอย่างสร้างสรรค์ในรูปแบที่หลากหลายอีกทั้งยังให้ความสำคัญกับการจัดรูปแบบการเรียนการสอนให้มากยิ่งขึ้น เพื่อมุ่งพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพและมีทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
In Chinese leaning system, the teachers often neglect the Child - Centered education which causes the struggles in critical thinking, creative problem solving, and communicative skill in learners. These are the important skills that the learners are acquired to have in 21st century to sustain the approprate manner of the learners in that period. Chinese learning should be integrated to support the teaching for these skills. The 5 strategies of this learning process are 1) Questioning 2) Computing 3) Acknowledgement 4) Communication 5) Social responsibility or Creativity to interpret in that teaching. These processes persuade learners to use their critical thinking and computing skills to solve problems efficiently in the communication and collaboration skills. To apply the 5 stpes of learning processes in Chinese teaching, the teachers should adopt with various types of teaching which will help to support learners in Chinese learning with different skills. The teachers should dedicate more in the teaching format to support the learning skills of learning skills of learners in 21st Century effectively.
在汉语教学管理中,教师经常忽视以学生为中心的学习(Child centered)对于持续发展的重要性,因此学习者缺乏批判性思维、独立解决问题的技能、交际、协作等方面的技能,而这些技能都是21世纪人才的指标要求。为了让学习者达到21世纪标准人才的要求,汉语教学应该改变教学法,就是将五步教学法:一、思,二、查,三、论,四、言,五、创应用于教学。这个过程可以提高学习者的批判性思维技能、计算机技能、解决问题地创新技能以及交际和协作技能。 以芭提雅市11中学为例使用五步教学法的现状表明,五步教学法要求教师将教学与研究结合起来,引导学生在课堂基本知识学习中学会独立思考,学到解决问题的方法。五步教学法还可以采用多种学习方式来配合汉语教学,让学生积极参与、愿意学、有兴趣。 五步教学法在汉语教学过程中,如果想得到很好的教学成果,教师应该使用各种各样恰当的媒体和资源配合学习者和教学内容,促使学习者在不同的情况下有机会用汉语交流,提高交际能力。最后,为了提高学习者的能力,教师要把全部精力投入到教学过程当中,帮助他们成为21世纪合格的人才。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2016
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/925
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
BOONSITA-AREEPONG.pdf6.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.