Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/930
Title: 文化交流在汉语教学中的教学研究—— 以THASALAPRASITSUKSA学校高中生为例
Other Titles: การวิจัยด้านวัฒนธรรมไทยจีนเชิงบูรณาการในการสอนภาษาจีน : กรณีศึกษา โรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา
Chinese-Thai Cultural Function Integrated in Chinese Teaching : A Case Study Thasalaprasitsuksa School
Authors: 李志艳
Li, Zhiyan
吴海
ชุติมา สามล
Keywords: ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
Chinese language -- Study and teaching (Secondary)
汉语 -- 学习和教学 (中学)
วัฒนธรรมจีน
Culture -- China
中国文化
Issue Date: 2015
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: ปัจจุบันนี้นอกเหนือจากภาษาอังกฤษแล้ว ภาษาจีนถือได้ว่าเป็นภาษาต่างประเทศที่มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าภาษาอังกฤษ เห็นได้จากการเปิดสอนภาษาจีนในโรงเรียนต่างๆ ทั้งของรัฐและเอกชน อีกทั้งการตอบรับของคนไทยที่สนใจเรียนภาษาจีนมีมากขึ้นทุกวัน แต่อย่างไรก็ตามการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยยังมีปัญหาและอุปสรรคอีกในหลายๆ ด้าน ปัญหาหลักที่พบ คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายสายศิลป์ภาษาจีนจำนวนไม่น้อยที่เรียนภาษาจีนตามลำดับที่กำหนดไว้ในกิจกรรมการเรียนการสอน แต่นักเรียนไม่สามารถนำสิ่งที่เรียนไปใช้ชีวิตประจำวันได้สามารถท่องจำหรือพูดได้แค่เนื้อหาที่เรียนมา ผู้วิจัยคิดว่าสาเหตุหนึ่งก็มาจากการเรียนการสอนยังขาดการบูรณาการเชิงวัฒนธรรม ผลจากการศึกษาวิจัยเรื่องนี้ด้วยการแจกแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสายศิลป์-ภาษาจีน โรงเรียนท่าศาลาประสิทธิ์ศึกษา พบว่านักเรียนส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการเรียนการสอนเชิงบูรณการ โดยการสอดแทรกความรู้เชิงวัฒนธรรมเพราะนอกจากจะทำให้การเรียนการสอนมีความหลากหลายแล้ว ยังช่วยสร้างบรรยากาศการเรียนให้มีความสนุกสนาน ไม่ตึงเครียดจนเกินไป อีกทั้งยังสามารถทำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจภาษาจีนในระดับที่ลึกซึ้ง มีความรอบรู้เกี่ยวกับสังคม ประเพณี วิถีชีวิตความเป็นอยู่ รวมทั้งวัฒนธรรมจีนในด้านต่างๆ ซึ่งผู้เรียนสามารถนำความรู้เหล่านี้ไปใช้ได้ในชีวิตประจำวันหรือชีวิตการทำงานในอนาคต ผู้วิจัยได้ประเมินผลการเรียนการสอนภาษาจีนระหว่างการเรียนการสอนภาษาจีนแบบปกติกับการสอนโดยสอดแทรกวัฒนธรรม เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการสอนภาษาจีนเชิงบูรณการวัฒนธรรม ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานวิจัยฉบับนี้คงเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ศึกษาค้นคว้าภาษาจีนและเป็นอีกหนึ่งแนวทางในการจัดการเรียนการสอนที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
Currently in Thailand, aside from English, Chinese has become an important foreign language. Many schools and universities have opened Chinese language courses and the number of Thai people learning Chinese is growing. However, Chinese education in Thailand still has some problems. Most high school students who have studied Chinese for several years still cannot apply what they have learned in real life. They just only rememeber dialigues and can only communicate the things that they have learnt in school. This problem is caused because Chinese teaching in Thailand lacks cultural integration. The results of this study, with questionnaires of Thasalaprasitsuksa High School students, found that most students agree with teaching Chinese by cultural integration. This is because it can help teach diversity and create a fun learning environment without stress. In addition it can help students understand Chinese deeply. Students are knowledgeable about the tradition, lives and the culture of Chinese people. They can apply that knowledge to their daily lives. Researchers have studied cultural functions in Chinese teaching and I really hope that this research will be useful to those studying Chinese.
目前在泰国,除了英语以外,汉语已成为一门重要的外语,许多大中小学都开设了汉语课程。泰国人学习汉语的热情也日益高涨,但是泰国的汉语教学依然存在着一些问题。不少的高中生汉语班虽然学了好几年的汉语,但是汉语的能力得不到实质性的提高。这是因为学只是把教师讲的内容记住,但是无法将所学语言运用到实际的生活当中。笔者觉得主要问题是学习环境,汉语教学方案及安排不合理,汉语教学当中无文化整合法。 从调查问卷分析,发现大部分的Thasalaprasitsuksa 学校高中生同意汉语教学文化导入法能帮助提高汉语各个方面。比如;让学生对汉语知识有深刻的理解,让课堂充满趣味,让学生对学习汉语感兴趣,能在生活当中准确地使用汉语,能迅速记住新的生词及语法点等等。 笔者十分希望通过研究及问卷调查后,能促进汉语教师看重汉语教学文化导入法,并希望对汉语教师有益的帮助。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2015
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/930
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
CHUTIMA-SAMOL.pdf2.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.