Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/947
Title: 泰北地区华校汉语教材对比研究——以《华文泰北版》与《语文》为例
Other Titles: การศึกษาเปรียบเทียบแบบเรียนภาษาจีน (Hua Wen Tai Bei Ban) และแบบเรียน (Yu Wen) ของโรงเรียนทางภาคเหนือของประเทศไทย
A Comparative Study of Teaching Chinese Language Using Northtern Thailand (Hua Wen Tai Bei Ban) and (Yu Wen) Chinese Textbooks
Authors: 肖瑜
Xiao, Yu
邓薇薇
กาญจนา แซ่เติ๋น
Keywords: โรงเรียนจีน -- ไทย (ภาคเหนือ)
Schools, Chinese -- Thailand, Northern
中文学校 -- 泰国
ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- Study and teaching
汉语 -- 学习和教学
ภาษาจีน -- แบบเรียน
汉语 -- 教科书
Chinese language -- Textbooks
Issue Date: 2017
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยศึกษาโรงเรียนจีนทางเหนือ เนื่องจากมีคนไทยเชื้อสายจีนที่อาศัยอยู่ตามท้องถิ่นทางภาคเหนือเป็นจำนวนมาก ชาวไทยเชื้อสายจีนที่อยู่ตามท้องถิ่นนั้นโดยส่วนใหญ่จะใช้ภาษาจีนยูนานเป็นภาษาสื่อสารกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ การเรียนภาษาจีนจึงถือว่าเป็นภาษาที่สองของผู้คนทางภาคเหนือ เนื่องจากผู้วิจัยเป็นหนึ่งในคนไทยเชื้อสายจีน จึงทราบถึงการจัดการเรียนการสนอภาษาจีนตามท้องถิ่นในภาคเหนือ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงก่อนค.ศ. 2000 โรงเรียนจีนทางภาคเหนือได้เริ่มใช้แบบเรียน HUA WEN TAI BEI BAN และแบบเรียน HUA WEN NAN YI BAN ซึ่งเป็นแบบเรียนภาษาจีนจากประเทศไต้หวัน หลังจากปี ค.ศ. 2000 โรงเรียนจีนในภาคเหนือได้เริ่มใช้แบบเรียนภาษาจีน YU WEN และแบบฝึกหัดทักษะภาษาจีนของประเทศจีน และปัจจุบันโรงเรียนจีนทางภาคเหนือส่วนใหญ่ยังคงใช้แบบเรียน HUA WEN TAI BEI BAN และแบบเรียนภาษาจีน HUA WEN NAN YI BAN เนื่องจากเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของประเทศจีนได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ในหลายปีที่ผ่านมาโรงเรียนจีนทางภาคเหนือนอกจากจะใช้แบบเรียนที่มาจากประเทศจีนไต้หวันแล้ว ยังได้เริ่มใช้แบบเรียนที่มาจากประเทศจีนแบบเรียน YU WEN เพิ่มขึ้น ดังนั้นผู้วิจัยจึงต้องการศึกษาและเปรียบเทียบระหว่างแบบเรียน HUA WEN TAI BE IBAN และแบบเรียน YU WEN 2 เล่มนี้ เล่มใดมีความเหมาะสมแก่การนำมาให้นักเรียนศึกษาเรียนรู้ ผู้วิจัยหวังว่าการศึกษาเปรียบเทียบแบบเรียนภาษาจีนในครั้งนี้ จะสามารถนำมาส่งเสริมข้อคิดเห็นให้แก่โรงเรียนจีนทางภาคเหนือ ในการเลือกใช้แบบเรียนตามความเหมาะสมกับนักเรียนในท้องถิ่นภาคเหนือได้
In terms of the particularity of Chinese in the Northern part of Thailand, this paper argues that is under the influence of family and society, for which the speakers learn Chinese as the native language or second language since childhood; among them most speakers speak Yunnan dialect. Based on my understanding of Chinese schools in Northern Thailand, Chinese teaching can be divided into two stages: first, before 2000, most Chinese schools in Northern Thailand use textbooks from Taiwan as main teaching materials, mainly focusing on using Northern Thailand HUA WEN TAO BEI BAN and HUA WEN NAN YI BAN Chinese textbooks. Second, after 2000, some Chinese schools in Northern Thailand gradually started using textbooks from China, such and HAN YU Chinese textbooks and YU WEN Chinese textbooks. However, most schools continue using Northern Thailand HUA WEN TAI BEI BAN and HUA WEN NAN YI BAN Chinese textbooks. Over the past decade, following the gradual expansion of Chinese culture (of People's Republic of China), the usage of HAN YU Chinese textbooks and YU WEN Chinese textbooks among Chinese schools in Northern Thailand has increased. Therefore, this paper targets on Northern Thailand HUA WEN TAI BEI BAN Chinese textbooks and YU WEN Chinese textbooks as main objects of study. The aim of this paper is to compare the advantages and disadvantages of the two teaching materials in expectation to encourage Chinese schools in Northern Thailand to select Chinese teaching materials proper for learners in Northern Thailand.
对于泰国北部地区汉语的学习的特殊性,笔者认为主要是家庭和社会的影响,从小就接触汉语,以汉语为母语或第二语言,大部分是云南方言,以笔者对泰北的华文学校的了解,汉语教学可分为两个阶段:一、公元2000年以前大部分泰北华文学校的汉语教材都是以中国台湾课本为主,以《华文泰北版》和《华文南一版》为主要教学教材。二、公元2000年以后,泰北地区的华文学校渐渐开始使用中国大陆的教材,如《语文》和《汉语》教材,但是大多数泰北地区华文学校还是使用《华文泰北版》和《华文南一版》。经过十年的时间,随着中国大陆的文化逐渐扩展,近年来泰北地区的华文学校开始用中国大陆的教材《语文》和《汉语》渐渐增多,因此本文以泰北地区《华文泰北版》与《语文》两本教材做为本论文的研究对象。 本文研究的目的是想对比研究两本教材的优缺点,并希望借此研究能推动泰北地区华文学校,在选择教材方面能选取适合泰北地区学习者的汉语教材。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2017
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/947
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanjana.pdf18.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.