Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/952
Title: 曾心诗歌意象研究
Other Titles: การศึกษาจินตภาพบทกวีของเจิงซิน
A Study of Zeng Sin's Poetic Imagery
Authors: 倪金华
Ni, Jinhua
卢玉福
Lu, Yufu.
Keywords: Zeng, Xin
曾心
เจิงซิน
วรรณกรรมจีน -- ประวัติและวิจารณ์
Chinese literature -- History and criticism
中国文学 -- 历史与批评
จินตภาพ
Imagery (Psychology)
假想
Issue Date: 2013
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: เมิ่งลี่จินตภาพ คือ "การหลอมรวมความรู้สึกนึกคิด" ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของบทกวี วิทยานิพนธ์นี้ชื่นชมวิเคราะห์บทกวีของเจิงซินอย่างสมบูรณ์และศึกษาอย่างเป็นระบบจากจินตภาพงานประพันธ์ของเจิงซิน โดยมุ่งหวังว่าจะเกิดประโยชน์ในการกระตุ้นให้เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ บทกวีต่อไปในอนาคต บทที่ 1 ของวิทยานิพนธ์นี้ ชื่นชมวิเคราะห์และวิพากษ์บทกวีของเจิงซิน โดยใช้รูปแบบ การผนวก "ความรู้สึก" และ "ภาพ" บทที่ 2 ของวิทยานิพนธ์นี้ ศึกษานัยแฝงด้านปรัชญาและวัฒนธรรมของจินตภาพแห่งบทกวีของเจิงซิน จากวิสัยทัศน์เรื่อง "รูปแบบแนวคิด" ซึ่งมีลักษณะพิเศษดังนี้ 1. ลักษณะพิเศษเชิงแนวคิดที่ตื่นตัวโดยมีแนวคิดภาพลักษณ์เป็นพื้นฐาน 2. ลักษณะพิเศษของการปลุกจิตวิญญาณแห่งชีวิตและการตระหนักถึงจักรวาล 3. ลักษณะพิเศษในการบูรณาการแนวคิดการเปรียบเปรยและแนวคิดการเปรียบเทียบอย่างละเอียด บทที่ 3 ของวิทยานิพนธ์นี้ ศึกษาการสร้างจินตตภาพแห่งบทกวีของเจิงซินจากมิติมุมมอง "การพิจารณาเชิงสุนทรียศาสตร์" ของจินตภาพ ซึ่งมีจุดเด่นดังนี้ 1. การสร้างจินตภาพ มีพื้นฐานจากการตื่นตัวในความงามของธรรมชาติ การสั่งสมประสบการณ์ด้านสุนรียศาสตร์และการบ่มเพาะด้านการศึกษาเรียนรู้ 2. การปรากฏจินตภาพ พลิกแพลงได้หลายรูปแบบ เช่น แบบ "การเชื่อมโยงจินตภาพ" แบบ "การก้าวกระโดดจินตภาพ" และแบบ "การผันเปลี่ยนเวลาของจินตภาพ" เป็นต้น 3. การผสานจินตภาพกับสัญลักษณ์ทางภาษา แสดงให้เห็นถึงหลัก "ความเลือนราง" "ความเสมือนจริง" "การพลิกแพลง" และ "ความเป็นดนตรี" ของจินตภาพ ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษที่แท้จริง เมื่อมองจินตภาพบทกวีของเจิงซินในภาพรวม สามารถสรุปว่าเป็น "เอกภาพแห่งแนวคิดบรรยายกับแนวคิดจินตภาพ" ซึ่งก็คือ เอกภาพของการวิภาษ "สภาพความเป็นจริง" และ "ความเป็นจริงแห่งศิลปะ" อันเป็นสาระสำคัญยิ่งในการสร้างสรรค์ การชื่นชมวิเคราะห์และการศึกษาบทกวี
Imagery consists of human sense, feeling and ideas which is the essential of a poem. The purpose of this thesis is to admire and analyze perfectly the poetry of ZengXin and to study from the imagery of his literature. Hope this study will be useful and create some aspiration to the readers. The thesis is divided into three chapters. First chapter, this study is to admire, analyze, and criticize the poetry of Zeng Xin by using "sensory" and "visuals". Second chapter, to study the potentially of philosophical and traditional imagery in the poetry of Zeng Xin which provide the vision from "the theme and main idea". This can be divided into 3 characteristics: (1) the form of energetic in imagery based on the fundamentally, (2) the spiritual awakening of life and universal, and (3) the thinking integration for implying and comparison. And in the third chapter, is to study from the visual dimension of "aesthetic considerations" which has the strengths as follows: (1) The construction of imagery originated from the aesthetic appreciation of nature, that is based on the accumulation of aesthetic experience and knowledge (2) The appearance of imagery can be changed into many different forms, such as "virtually imagery". "fast imagery" and "time conversion imagery" (3) The combination of imagery and symbolic language refects the "indistincness", "virtuality", "flexibility" and "musicality", that are the essential characteristics of imagery. In conclusion, the poetry of Zeng Xin is the unity of the narrative and imagery concepts which the realistic condition and real artistic are represented the essential creation of the poetry analysis.
เมิ่งลี่จินตภาพ คือ "การหลอมรวมความรู้สึกนึกคิด" ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของบทกวี วิทยานิพนธ์นี้ชื่นชมวิเคราะห์บทกวีของเจิงซินอย่างสมบูรณ์และศึกษาอย่างเป็นระบบจากจินตภาพงานประพันธ์ของเจิงซิน โดยมุ่งหวังว่าจะเกิดประโยชน์ในการกระตุ้นให้เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ บทกวีต่อไปในอนาคต บทที่ 1 ของวิทยานิพนธ์นี้ ชื่นชมวิเคราะห์และวิพากษ์บทกวีของเจิงซิน โดยใช้รูปแบบ การผนวก "ความรู้สึก" และ "ภาพ" บทที่ 2 ของวิทยานิพนธ์นี้ ศึกษานัยแฝงด้านปรัชญาและวัฒนธรรมของจินตภาพแห่งบทกวีของเจิงซิน จากวิสัยทัศน์เรื่อง "รูปแบบแนวคิด" ซึ่งมีลักษณะพิเศษดังนี้ 1. ลักษณะพิเศษเชิงแนวคิดที่ตื่นตัวโดยมีแนวคิดภาพลักษณ์เป็นพื้นฐาน 2. ลักษณะพิเศษของการปลุกจิตวิญญาณแห่งชีวิตและการตระหนักถึงจักรวาล 3. ลักษณะพิเศษในการบูรณาการแนวคิดการเปรียบเปรยและแนวคิดการเปรียบเทียบอย่างละเอียด บทที่ 3 ของวิทยานิพนธ์นี้ ศึกษาการสร้างจินตตภาพแห่งบทกวีของเจิงซินจากมิติมุมมอง "การพิจารณาเชิงสุนทรียศาสตร์" ของจินตภาพ ซึ่งมีจุดเด่นดังนี้ 1. การสร้างจินตภาพ มีพื้นฐานจากการตื่นตัวในความงามของธรรมชาติ การสั่งสมประสบการณ์ด้านสุนรียศาสตร์และการบ่มเพาะด้านการศึกษาเรียนรู้ 2. การปรากฏจินตภาพ พลิกแพลงได้หลายรูปแบบ เช่น แบบ "การเชื่อมโยงจินตภาพ" แบบ "การก้าวกระโดดจินตภาพ" และแบบ "การผันเปลี่ยนเวลาของจินตภาพ" เป็นต้น 3. การผสานจินตภาพกับสัญลักษณ์ทางภาษา แสดงให้เห็นถึงหลัก "ความเลือนราง" "ความเสมือนจริง" "การพลิกแพลง" และ "ความเป็นดนตรี" ของจินตภาพ ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษที่แท้จริง เมื่อมองจินตภาพบทกวีของเจิงซินในภาพรวม สามารถสรุปว่าเป็น "เอกภาพแห่งแนวคิดบรรยายกับแนวคิดจินตภาพ" ซึ่งก็คือ เอกภาพของการวิภาษ "สภาพความเป็นจริง" และ "ความเป็นจริงแห่งศิลปะ" อันเป็นสาระสำคัญยิ่งในการสร้างสรรค์ การชื่นชมวิเคราะห์และการศึกษาบทกวี
意象,就是“情景交融”,是诗歌的灵魂。本文从意象入手,对曾心的诗歌进行完整的赏析与系统的研究,以期对今后的诗歌创作起到积极的借鉴作用。 本文的第一章,按照“情”与“景”的联结方式对曾心诗歌的意象进行赏析评论。 本文的第二章,从“思维方式”的视野出发,研究曾心诗歌的意象的文化哲学意蕴。有如下特征: 一、以象思维为基础的感悟思维特征; 二、生命精神与宇宙意识觉醒的特征; 三、比兴思维与隐喻思维整合的特征。 本文的第三章,从意象的“美学思考”维度出发,研究曾心诗歌的意象创造,有如下特征: 一、意象的建构,源自于对自然美的感悟,以审美经验的积累和学养的储备为基础; 二、意象的呈现,灵活多变,有“意象连贯”,有“意象跳跃”以及“意象时空的转换”等形式; 三、意象与语符组合,体现了意象的“模糊性”、“虚拟性”、“变通性”和“音乐性”原则即本质特征。 综观曾心诗歌的意象,可归纳为“叙事思维与意象思维的统一。”即“现实真实”与“艺术真实”的辩证统一,对诗歌的创作、赏析与研究有着至关重要的意义。
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2013
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/952
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
LU-YUFU.pdf
  Restricted Access
70.82 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.