DSpace Repository

การศึกษาประสิทธิภาพของตัวดูดซับทางชีวภาพต่อการดูดซับไอออนของตะกั่วจากตัวอย่างน้ำสังเคราะห์

Show simple item record

dc.contributor.author กรรณิการ์ แก้วกิ้ม
dc.contributor.author อัจจนา ขำทิพย์
dc.contributor.author ศรมน สุทิน
dc.contributor.author มณฑลี ธีรอภิศักดิ์กุล
dc.contributor.author Kannika Kaewkim
dc.contributor.author Achjana Khamthip
dc.contributor.author Soramon Sutin
dc.contributor.author Montalee Theeraapisakkun
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology
dc.date.accessioned 2023-02-15T01:25:51Z
dc.date.available 2023-02-15T01:25:51Z
dc.date.issued 2016
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1159
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ได้ศึกษาประสิทธิภาพของตัวดูดซับในการดูดซับ Pb2+ จากตัวอย่างน้ำสังเคราะห์ด้วยตัวดูดซับชีวภาพจ้านวน 11 ชนิด ซึ่งประกอบด้วย เปลือกไข่ไก่ เปลือกส้มโอ เปลือกกล้วย เปลือกสับปะรด เปลือกข้าวโพด หนวดข้าวโพด ผักตบชวา จอก แหน ว่านกาบหอย และใบสารภีทะเล ประสิทธิภาพในการดูดซับ Pb2+ ของตัวดูดซับแต่ละชนิดจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับหมู่ฟังก์ชันที่เป็นองค์ประกอบและสภาวะที่เหมาะสมในการดูดซับ เพื่อให้ได้มาซึ่งประสิทธิภาพในการดูดซับที่ดีที่สุดของตัวดูดซับแต่ละชนิด ในงานวิจัยนี้จึงได้ศึกษาสภาวะที่เหมาะสม ได้แก่ pH (2-7) ของน้้าสังเคราะห์ปริมาณของตัวดูดซับ (12.5-150 มิลลิกรัม) และเวลาที่ใช้ในการดูดซับ (15-180 นาที) หลังจากนั้นได้ศึกษาจลศาสตร์ของตัวดูดซับทั้ง 11 ชนิด พบว่ากระบวนการดูดซับที่เกิดขึ้นกับตัวดูดซับทั้ง 11 ชนิดนั้นสอดคล้องกับแบบจ้าลองของ Pseudo-second-order ซึ่งจากการศึกษาพบว่าสามารถก้าจัด Pb2+ จากน้้าสังเคราะห์ได้ดี ด้วยวัสดุชีวภาพ ที่มีราคาถูกและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม th
dc.description.abstract In this work, biosorbent efficiency for Pb2+ adsorption from synthetic water was studied. The adsorbent consists of 11 types including egg peel, pomelo peel, banana peel, pineapple peel, corn peel, corn silk, water hyacinth, water lettuce duckweed, oyster plant and Borneo mahogany leaves. The varied biosorbents revealed the different in adsorption efficiencies. Their adsorption efficiencies depended on the functional groups and the experimental conditions. To investigate the best adsorption for each adsorbent, pH (2-7), mass of adsorbent (12.5 - 150 mg) and contact time (15– 180 min) were examined. Then, the kinetic studies for all biosorbents were evaluated. Their results were correlated with pseudo-second-order kinetic model. From this research, Pb2+ can be removed from synthetic water by the biosobents which are cheap and environmentally friendly. th
dc.description.sponsorship การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติปีการศึกษา 2557 th
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject คุณภาพน้ำ th
dc.subject Water quality th
dc.subject โลหะหนัก th
dc.subject Heavy metals th
dc.subject การดูดซับ (ชีววิทยา) th
dc.subject Adsorption th
dc.title การศึกษาประสิทธิภาพของตัวดูดซับทางชีวภาพต่อการดูดซับไอออนของตะกั่วจากตัวอย่างน้ำสังเคราะห์ th
dc.title.alternative Study of Biosorbent Efficiency for Lead Ion Adsorption from Synthetic Water th
dc.type Technical Report th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account