dc.contributor.author |
ชุติระ ระบอบ |
|
dc.contributor.author |
อดุลย์ นงภา |
|
dc.contributor.author |
บรรเจิดศักดิ์ สัณหภักดี |
|
dc.contributor.author |
Chutira Rabob |
|
dc.contributor.author |
Adul Nongpa |
|
dc.contributor.author |
Benjertsak Sannhapuckdee |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
th |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
|
dc.date.accessioned |
2024-01-03T14:52:20Z |
|
dc.date.available |
2024-01-03T14:52:20Z |
|
dc.date.issued |
2015 |
|
dc.identifier.citation |
วารสาร ธุรกิจปริทัศน์ 7,2 (กรกฎาคม-สิงหาคม 2558) : 75-97 |
th |
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1579 |
|
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่
https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/130276/97765 |
|
dc.description.abstract |
รายงานวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจแนวคิดและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของประชาชนในจังหวัดสมุทรปราการ กับการประยุกต์ใช้ในการพัฒนาอาชีพอิสระวิเคราะห์การนำแนวปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการพัฒนาอาชีพอิสระ และหาแนวทางที่เหมาะสมเพื่อสร้างความเข้มแข็งในการประกอบอาชีพอิสระของประชาชนในจังหวัดสมุทรปราการโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสานทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มเดียวกับประชากรที่ศึกษา ได้แก่ ประชาชนที่ได้รับการคัดสรรเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพอิสระหรือการเป็นผู้ประกอบการใหม่ จำนวน 127 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา การแจงแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ในด้านความรู้ความเข้าใจ กลุ่มตัวอย่างเห็นว่าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทำให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้ เป็นเรื่องของการดำรงชีวิตในทางสายกลาง ต้องมีความประหยัดอดออมเป็นอันดับแรก มีสิ่งของฟุ่มเฟือยได้แต่ต้องไม่เบียดเบียนผู้อื่น ทำธุรกิจที่ยึดหลักพอประมาณไม่โลภเกินไป เป็นแนวคิดในอุดมคติและขัดต่อหลักการทางธุรกิจที่เน้นการหากำไร การนำแนวปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ ของประชาชนตามหลักพอประมาณ หลักความมีเหตุผล และหลักการสร้างภูมิคุ้มกัน มีคะแนนเฉลี่ยระดับปานกลางในทุกปัจจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์พบว่า การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กับการดำเนินธุรกิจในยุคปัจจุบันทำให้ธุรกิจสามารถดำรงอยู่ได้ โดยไม่จำเป็นต้องแข่งขันกับเศรษฐกิจภายนอก ใช้ทรัพยากรให้เป็นประโยชน์ ลดต้นทุนและกระจายรายได้ ธุรกิจดำเนินงานตามหลักความพอเพียง มองคู่แข่งขันอย่างเพื่อนร่วมธุรกิจและสร้างธุรกิจให้มีความเข้มแข็ง ธุรกิจมีภูมิคุ้มกัน สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขไม่สร้างความเดือดร้อนให้กับสังคม สำหรับแนวทางที่เหมาะสมเพื่อสร้างความเข้มแข็งในการประกอบอาชีพอิสระของประชาชนที่สำคัญ ได้แก่ เปิดศูนย์ฝึกอบรมให้กับประชาชน จัดกิจกรรมหรือโครงการสอนซ่อมเสริมอาชีพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปิดการฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น ปัญหาหรืออุปสรรคของประชาชนในการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการประกอบอาชีพที่สำคัญคือ แหล่งข้อมูลสารสนเทศยังกระจายไม่ถึงชุมชน ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจและความตั้งใจจริง รวมทั้งมีความรู้และประสบการณ์ไม่เพียงพอ |
th |
dc.description.abstract |
This research aimed to study the understanding in Philosophy of Sufficiency Economy concept of the people in Samut Prakan Province, the application of self-employed development and to analyze the usage of Sufficiency Economy related to self-employed, and to find the appropriate guideline to strengthen their self-employed. This research design was conducted by using research methodology both qualitative and quantitative method. The research tools were questionnaire and interview. The participants were 127 selected by using purposive sampling technique from housewifes or new entrepreneurs who participate in operation training project. Interview was done with 5 stakeholders who involved in selfemployed development such as the Samut Prakan governor, political leader in local area, community leadership, the administrator of polytechnic college, and the representative relevant to self-employed development project in Samut Prakan Province. Both quantitative and qualitative data were analyzed by using descriptive statistics, frequency, percentage, mean, and standard deviation. The analysis results discovered that the knowledge factor of self-employed people nearly in agreement with the knowledge factor that the Philosophy of Sufficiency Economy resulted in self-independence, moderate practice of life-being, and having luxury products however not disturb to the others, do their business in moderate approach and it had been an ideal concept with profit interruption. In the sufficiency, reasonable and self-immunity principle all factors were moderate score. The results of interview showed that the Philosophy of Sufficiency Economy resulted in maintain their business and it had been not necessary to competition with outsiders, efficiency of resource usage, reducing cost and income distribution, consider competitor as business partnership, business strengthen and self-immunity, live together with happiness and not disturb to others. The appropriate way to create strengthen in self-employed was to establish the training center, provide short-term training course. The most important problems were community’s information shortage, lack of knowledge and experience. |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.subject |
การพัฒนาอาชีพ |
th |
dc.subject |
Career development |
th |
dc.subject |
อาชีพอิสระ – ไทย – สมุทรปราการ |
th |
dc.subject |
Self-employed – Thailand – Samut Prakarn |
th |
dc.subject |
เศรษฐกิจพอเพียง |
th |
dc.subject |
Sufficiency economy |
th |
dc.title |
การพัฒนาสู่อาชีพอิสระของประชาชนในจังหวัดสมุทรปราการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง |
th |
dc.title.alternative |
Self-employed Development of People in Samut Prakan’s Province in accordance with the Philosophy of Sufficiency Economy |
th |
dc.type |
Article |
th |