DSpace Repository

การศึกษาเปรียบเทียบหลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาทกับปรัชญาขงจื่อ

Show simple item record

dc.contributor.author ธีรโชติ เกิดแก้ว
dc.contributor.author อรรถสิทธิ์ สุนาโท
dc.contributor.author Teerachoot Kerdkaew
dc.contributor.author Atthasit Sunatho
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts
dc.date.accessioned 2024-01-06T02:22:43Z
dc.date.available 2024-01-06T02:22:43Z
dc.date.issued 2023
dc.identifier.citation วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 18,1 (มกราคม-มิถุนายน 2566) : 22-39 th
dc.identifier.other https://doi.org/10.14456/lar.2023.2
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1596
dc.description เข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/262525/179491
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบหลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาทกับปรัชญาขงจื่อ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงสำรวจ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารแล้วนำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า ความสอดคล้องกันของหลักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในปรัชญาทั้งสองเป็นความสอดคล้องในสาระสำคัญที่ว่า การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นกระบวนการฝึก อบรม ขัดเกลาชีวิตทั้งกายและใจให้สมบูรณ์เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมรอบตัวมนุษย์อย่างสมดุลโดยมีจุดมุ่งหมายให้ทุกชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และช่วยกันผดุงสังคมให้มีสันติภาพ เอกภาพ และเสถียรภาพ ส่วนความแตกต่างกันเป็นเรื่องของรายละเอียดที่หลักการพัฒนาในพุทธปรัชญาเถรวาทเป็นคติแบบศาสนา ซึ่งมีความเชื่อบางเรื่องที่ปรัชญาขงจื่อไม่มี โดยมีกระบวนการพัฒนาชีวิตให้สมบูรณ์สรุปตามหลักไตรสิกขาคือ ศีล สมาธิ ปัญญา มุ่งผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาที่ความหลุดพ้นจากกิเลสและความทุกข์ ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดเป็นสำคัญ ในขณะที่หลักการพัฒนาในปรัชญาขงจื่อเป็นคติแบบปรัชญาที่มุ่งใช้กลไกลทางสังคม คือการศึกษาและจารีตเป็นเครื่องอบรม ขัดเกลาชีวิตให้สมบูรณ์ในปัจจุบันตั้งแต่เยาว์วัย ผ่านบุคคลผู้ใกล้ชิดและคน อื่น ๆ ในสังคม มุ่งผลสัมฤทธิ์คือการเป็นวิญญูชน สามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข และร่วมกันสร้างชุมชนให้มีมนุษยธรรม ไม่ได้มุ่งความเป็นอิสระจากกิเลสและความพ้นทุกข์อย่างพุทธปรัชญาเถรวาท th
dc.description.abstract The purposes of this research were to study and compare principles of human resource development in Theravada Buddhism and Confucian philosophy by using survey research methodology. The data were analyzed from the document and the results were presented in a descriptive analytical way. The results showed that the principles of human resource development in both philosophies were consistent in the essence. That was human resource development was a process of training and purifying life both physically and mentally to be perfectly connected with the surrounding environment of human beings with the aims of making everyone live happily together and helping each other to maintain a society of peace, unity and stability. The differences were found in details. In Theravada Buddhist philosophy, there was a complete life development process summarized according to the threefold principle, which was precepts, concentration, and wisdom, focusing on the achievement of development that is free from defilement and suffering. The Confucian philosophy, on the contrary, were focused on social mechanisms, education and tradition as training tools; to refine to perfection from a young age through close people and other people in society. th
dc.language.iso th th
dc.subject การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ th
dc.subject Human resources development th
dc.subject พุทธศาสนาเถรวาท th
dc.subject Hinayana Buddhism th
dc.subject ปรัชญาขงจื๊อ th
dc.subject Philosophy, Confucian th
dc.title การศึกษาเปรียบเทียบหลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาทกับปรัชญาขงจื่อ th
dc.title.alternative A Comparative Study of Development Human Resources in Theravada Buddhist Philosophy and Confucius Philosophy th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account