DSpace Repository

Development and Usage of Television Media to take advantage of TRF Research

Show simple item record

dc.contributor.author กิตติพงษ์ พุ่มพวง
dc.contributor.author พัชรินทร์ บูรณะกร
dc.contributor.author รัชนีพร ศรีรักษา
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยนเรศวร. คณะศึกษาศาสตร์ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์ th
dc.date.accessioned 2024-03-09T05:56:16Z
dc.date.available 2024-03-09T05:56:16Z
dc.date.issued 2020
dc.identifier.citation วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 15,1 (มกราคม-มิถุนายน 2563) : 102-116 th
dc.identifier.issn 1905-2863 (Print)
dc.identifier.issn 2730-2296 (Online)
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1853
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/242274/165873 th
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสื่อวิทยุโทรทัศน์เพื่อการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก และเพื่อนำสื่อวิทยุโทรทัศน์เพื่อการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ไปเผยแพร่แก่เยาวชน ผลการวิจัยพบว่า ตอนที่ 1 การพัฒนาสื่อวิทยุโทรทัศน์เพื่อการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก การนำงานวิจัยของ สกว. 2 เรื่อง ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก มาเป็นเนื้อหาสำคัญในการสร้างสื่อวิทยุโทรทัศน์ โดยกำหนดสื่อวิทยุโทรทัศน์ออกเป็น 4 ตอน ดังนี้ ตอน 1 อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า ตอน 2 วิถีชีวิตที่ยั่งยืนตามรอยปราชญ์แห่งแผ่นดิน (วิถีชีวิตเกษตรพอเพียงหมู่บ้านร่องกล้า) ตอน 3 วัฒนธรรมม้ง หมู่บ้านร่องกล้า ตอน 4 วิถีชีวิตบ้านห้วยน้ำไซ (การอยู่ร่วมกันของชาวม้งหมู่ 15, 16 และชาวไทย หมู่ 17) ค่าเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพสื่อวิทยุโทรทัศน์ของทั้ง 4 ตอน อยู่ในระดับมาก (4.14) ตอนที่ 2 การนำสื่อวิทยุโทรทัศน์เพื่อการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ไปเผยแพร่แก่เยาวชน กลุ่มที่ 1 เยาวชนในพื้นที่อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ได้แก่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียน พื้นที่ ตำบลเนินเพิ่ม อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 3 โรงเรียน สรุปผลประเมินการรับรู้อยู่ในระดับมากที่สุด (4.53) กลุ่มที่ 2 เยาวชนนอกพื้นที่ อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ได้แก่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 3 โรงเรียน สรุปผลประเมินการรับรู้อยู่ในระดับมากที่สุด (4.51) กลุ่มที่ 3 เยาวชนชาวต่างชาติที่เข้ามาศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย ได้แก่ นักศึกษาชาวจีนที่เข้ามาศึกษาหลักสูตรภาษาไทยในประเทศไทย จำนวน 3 แห่ง สรุปผลประเมินการรับรู้อยู่ในระดับมากที่สุด (4.53) ตอนที่ 3 การเผยแพร่การใช้ประโยชน์จากงานวิจัยสู่สาธารณชนในวงกว้าง ได้แก่ กลุ่มหน่วยงานในพื้นที่และท้องถิ่น เช่น อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า บ้านใหม่ร่องกล้า กลุ่มสื่อสารมวลชน เช่น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัดพิษณุโลก สถานีวิทยุโทรทัศน์ช่อง 11 จังหวัดพิษณุโลก ฯลฯ กลุ่มเครือข่ายวิชาการ เช่น สถานอารยธรรมศึกษาโขง-สาลวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร และสื่อสังคมออน์ไลน์ ผลการวิจัยด้านการท่องเที่ยวที่นำมาใช้ คือ การนำเนื้อหาด้านการท่องเที่ยวอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก จากงานวิจัยของ สกว. จำนวน 2 เรื่อง มาสร้างเป็นสื่อวิทยุโทรทัศน์เพื่อเป็นช่องทางในการเผยแพร่ข้อมูลด้านการท่องเที่ยวที่ได้ จากงานวิจัย จำนวน 2 เรื่อง ของ สกว. ที่ทำเสร็จไปแล้ว th
dc.description.abstract The purposes of this research are to develop Television media by taking main information from research focused on cultural tourism in Nakhonthai District, Phitsanulok province, and to disseminate knowledge to youths. It is found that: Section 1: The media has been developed by taking main information from two TRF research studies focused on cultural tourism in Nakhonthai District, Phitsanulok province. There are four episodes, which are Episode1: Phu Hin Rong Kla National Park Episode2: Sufficiency Agricultural Ways in Rong Kla Village Episode3: Hmong Culture in Rong Kla Village Episode4: Folk Ways of Huai Nam Sai village The evaluation averages of these four episodes are at high rate (4.14). Section 2: Television media developed from the research focused on cultural tourism in Nakhonthai District, Phitsanulok province, has been disseminated to the three groups of youths. Group1: secondary school students in Nakhonthai District, Phitsanulok province: documents which were gathered from three schools in tambon Neaun Pheaum express that the evaluation rate of learning outcomes is at highest level (4.53). Group2: secondary school students from outside: documents which were gathered from three schools in Phitsanulok, Nontaburi and Samut Prakan express that the evaluation rate of learning outcomes is at highest level (4.51). Group3: foreign exchange students: documents which were gathered from Chinese students in three universities express that the evaluation rate of learning outcomes is at highest level (4.53). Section 3: The uses of these researches has been widely broadcasted to local administrations and social media. The findings of the tourism research used were the use of tourism content in Nakhon Thai district. Phitsanulok Province From the 2nd TRF research to create a radio and television media as a channel to disseminate tourism information obtained from the 2 TRF research completed. th
dc.language.iso en_US th
dc.subject การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม -- ไทย -- พิษณุโลก th
dc.subject Heritage tourism -- Thailand -- Pitsanulok th
dc.subject โทรทัศน์ th
dc.subject Television th
dc.subject นครไทย (พิษณุโลก) th
dc.subject Nakhonthai (Pitsanulok) th
dc.title Development and Usage of Television Media to take advantage of TRF Research th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account