DSpace Repository

“การเรียนรู้” ในการเรียนการสอนวิชาการแปลไทย-จีน กรณีศึกษานักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Show simple item record

dc.contributor.author Xu Weijie
dc.contributor.author Jiang Nannan
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์ th
dc.date.accessioned 2024-03-09T14:06:22Z
dc.date.available 2024-03-09T14:06:22Z
dc.date.issued 2021
dc.identifier.citation วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 16, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2564) : 18-29 th
dc.identifier.issn 1905-2863 (Print)
dc.identifier.issn 2730-2296 (Online)
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1868
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/249541/172939 th
dc.description.abstract บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อบกพร่องด้านองค์ความรู้ทฤษฎีการแปลและด้านการใช้วิธีการแปลของนักศึกษา และเพื่อศึกษากลวิธีการสอนการแปลที่เหมาะสมกับความต้องการของนักศึกษา โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จำนวน 3 รุ่น และได้นำข้อมูลผลการประเมินจากแบบสอบถาม จำนวน 122 ฉบับ มาสรุปและวิเคราะห์ผลการศึกษาพบว่า 1. นักศึกษาส่วนมากมีข้อบกพร่องด้านมีความรู้ทฤษฎีการแปลที่ยังไม่มากพอ 2. นักศึกษาส่วนมากไม่มีการวิเคราะห์ต้นฉบับก่อนแปล เมื่อแปลงานแล้วเสร็จไม่มีการสังเคราะห์งานแปล 3. นักศึกษาส่วนมากคิดว่าเทคนิคการแปลมีส่วนในการช่วยพัฒนาการทำงานด้านการแปลได้ไม่มากผลการวิจัยเหล่านี้มีประโยชน์ต่อ “การสอน”ของผู้สอนและ“การเรียนรู้”ของนักศึกษาในกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการแปลไทย-จีน สำหรับนักศึกษา ควรเพิ่มพูนความรู้เรื่องทฤษฎีการแปล การวิเคราะห์ต้นฉบับก่อนแปลและสังเคราะห์งานแปลหลังแปลงานแล้วเสร็จ สำหรับผู้สอนควรชี้นำนักศึกษาให้นำความรู้ด้านทฤษฎีการแปลมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติจริง ส่งเสริมการสร้างอุปนิสัยและความเคยชินที่ดีของนักศึกษาในเรื่องการสังเคราะห์งานแปลและสอนให้นักศึกษารู้จักสรุปและขบคิดทบทวนเพื่อช่วยพัฒนาความสามารถด้านการแปลของนักศึกษาได้อย่างแท้จริง th
dc.description.abstract This article focuses on the "learning" of students in Thai-Chinese translation teaching. A total of 122 valid questionnaires were collected from three grades of Chinese students majoring in Thai at Huachiew Chalermprakiet University. After the induction and analysis of the data, the following findings were obtained: 1. Most students do not have a good grasp of theories of translation. 2. Most students will not read through the original text before translation and will not proofread after translation. 3. Most students think that translation skills are not very helpful to their translation work. These findings have certain significance for both the "teaching" of teachers and the "learning" of students in Thai-Chinese translation teaching. For students, they should strengthen the study of translation theory knowledge, understand the original text before translation, and proofread after translation. For teachers, they should guide students to apply the theoretical knowledge to translation practice, help students form good proofreading habits, and require students to summarize and think in time, help students improve their translation ability. th
dc.language.iso th th
dc.subject ภาษาไทย -- การแปลเป็นภาษาจีน th
dc.subject Thai language -- Translate into Chinese th
dc.subject ภาษาไทย -- การแปลเป็นภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา) th
dc.subject Thai language -- Translate into Chinese -- Study and teaching (Higher) th
dc.title “การเรียนรู้” ในการเรียนการสอนวิชาการแปลไทย-จีน กรณีศึกษานักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาการสื่อสารภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.title.alternative "Learning" in Thai-Chinese Translation Teaching: Based on A Survey Among of Undergraduate Majoring in Communicative Thai as a Second Language at Huachiew Chalermprakiet University th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account