DSpace Repository

การศึกษารหัสพุทธธรรมจากอักษรย่อแบบไม่ระบุชื่อหัวใจในคัมภีร์หัวใจ 108

Show simple item record

dc.contributor.author ธีรโชติ เกิดแก้ว
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์ th
dc.date.accessioned 2024-03-15T03:39:43Z
dc.date.available 2024-03-15T03:39:43Z
dc.date.issued 2021
dc.identifier.citation วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์ 5,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2564) : 153-173 th
dc.identifier.issn 3027-7442 (Print)
dc.identifier.issn 3027-7450 (Online)
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1901
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jmb/article/view/253398/171963 th
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแหล่งที่มาและวิธีการย่ออักษรแบบไม่ระบุชื่อหัวใจในคัมภีร์หัวใจ 108 และศึกษารหัสพุทธธรรมและการนำอักษรย่อแบบไม่ระบุชื่อหัวใจในคัมภีร์หัวใจ 108 ไปใช้ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร และนำเสนอเป็นรายงานการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า อักษรย่อแบบไม่ระบุชื่อหัวใจในคัมภีร์หัวใจ 108 ส่วนใหญ่มาจาก คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา เช่น พระไตรปิฎก รวมถึงบทสวดมนต์ต่าง ๆ แต่มีอักษรย่อบางส่วน ที่มาจากความเชื่อในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และเวทมนตร์คาถาทางไสยศาสตร์ วิธีการย่ออักษร ตามคัมภีร์วชิรสารัตถสังคหะพบ 3 รูปแบบ คือ การย่ออักษรตัวแรกของศัพท์ การย่ออักษรตัว สุดท้ายของศัพท์ การย่ออักษรที่ใช้วิธีทั้งสองข้อข้างต้นร่วมกัน รหัสพุทธธรรมที่พบ ได้แก่ พระพุทธเจ้า พระรัตนตรัย พระธรรม พุทธสาวกบางรูป พระเถระหลังพุทธกาล ชื่อคัมภีร์ พิธีกรรม ศาสนวัตถุ เหตุการณ์สำคัญในพระพุทธศาสนา นิทานธรรม ส่วนวิธีการนำอักษรไปใช้ พบ 2 ลักษณะ คือ การไปใช้ตามคติทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ การนำมาใช้สื่อแหล่งที่มา ชื่อ และความหมายของหัวใจ เรื่องที่เกี่ยวกับพระพระพุทธศาสนาที่กล่าวข้างต้น ใช้เป็นคำภาวนา ฝึกจิตให้เป็นสมาธิ และอุบายเตือนสติให้ตั้งมั่นอยู่ในความดี และการนำไปใช้ตามคติความเชื่อ ทางไสยศาสตร์ทั้งทางที่ดี เช่น ป้องกันภัย และทางที่ไม่ดี เช่น นำไปใช้ทำร้ายคนอื่นให้วิบัติ th
dc.description.abstract This research aimed to study the source material methods of anonymous acronym the code of Buddhism and the unnamed acronym in 108 core scriptures to use. This qualitative research collected data from documents and they were analyzed and presented as descriptive research reports. The research found that the most unnamed acronyms in 108 core scriptures were scriptures including chants from the prayer book. However, some core scriptures were derived from the belief in Brahmanism, superstition. The unnamed acronyms were abbreviated by using the acronym theory as in the Wachirasãratta sangkhaha scripture which consisted of 3 forms: 1) the abbreviation of the initial letter of a word, 2) the abbreviation of the final letter of a word, 3) the abbreviation of both the initial and final letter. The code of Buddhism from the unnamed acronym in 108 core scriptures was Buddha Rattana Tri or Triple Gem as well as Buddhist scriptures, Dhamma, Buddhist disciples, religious objects, rituals and milestones in Buddhism, novels to reflect important purpose of abbreviation and using acronym as Buddhism materials, method for memorizing various matters in Buddhism and memorizing the principles of Buddhism, for mental exercise to meditate by using the letters in prayer, and for the leader reminder to leave baseness, observe the precepts, self-sacrifice, and mental development. Meanwhile, it was found that abbreviations were used in magical beliefs in both good ways, such as protection from dangers and bad ways, such as being used to harm other people to misfortune, etc. th
dc.language.iso th th
dc.subject อักษรย่อ th
dc.subject Acronyms th
dc.subject พุทธศาสนา -- คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ th
dc.subject Buddhism -- Sacred books th
dc.subject คาถา th
dc.subject Incarnation th
dc.subject ความเชื่อ th
dc.subject Belief and doubt th
dc.title การศึกษารหัสพุทธธรรมจากอักษรย่อแบบไม่ระบุชื่อหัวใจในคัมภีร์หัวใจ 108 th
dc.title.alternative A Study of Code of Buddhism from Unnamed Acronym th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account