DSpace Repository

ภาพสะท้อนคนชายขอบในนวนิยายไทย พ.ศ. 2540-2565

Show simple item record

dc.contributor.author XU ZHILAN
dc.contributor.author พัชรินทร์ บูรณะกร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์ th
dc.date.accessioned 2024-04-12T12:47:51Z
dc.date.available 2024-04-12T12:47:51Z
dc.date.issued 2023
dc.identifier.citation วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ 18, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2566) : 145-168 th
dc.identifier.issn 1905-2863 (Print)
dc.identifier.issn 2730-2296 (Online)
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2029
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/larhcu/article/view/266686/181676 th
dc.description.abstract บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาพสะท้อนคนชายขอบในนวนิยายไทย พ.ศ.2540-2565 จำนวน 6 เรื่อง ผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพตามกรอบแนวคิดภาพสะท้อนและแนวคิดเกี่ยวกับคนชายขอบ วิเคราะห์ตัวบทวรรณกรรมโดยพิจารณาจากความหมายของคําประพันธ์ผลการวิจัยพบว่า นวนิยายทั้ง 6 เรื่อง นําเสนอภาพสะท้อนด้านสถานภาพ ชีวิตความเป็นอยู่ คุณธรรมและสิทธิมนุษยชนของคนชายขอบ ทำให้เห็นสถานภาพของคนชายขอบในบริบทที่หลากหลาย เป็นนักโทษ ชาวนา เด็กบ้านแตก ชาวเวียดนามอพยพ ชาวดง ลูกเรือประมง และพ่อครัว ด้านชีวิตความเป็นอยู่ พบว่า คนชายขอบส่วนใหญ่ไม่มีบ้านเป็นของตนเอง มีปัญหาเรื่องอาหารการกิน ทำงานที่ไร้ฝีมือทักษะ ไม่ค่อยให้ความสำคัญกับการศึกษา ด้านคุณธรรมจริยธรรม สะท้อนให้เห็นว่าคนชายขอบขยันหมั่นเพียรเข้มแข็ง มีความรับผิดชอบ ด้านสิทธิมนุษยชน สะท้อนให้เห็นว่า คนชายขอบถูกละเมิดสิทธิทางเศรษฐกิจ สิทธิในชีวิตและร่างกาย สิทธิทางการศึกษา และสิทธิการเดินทาง และถูกล่วงละเมิดทางเพศ ยังสะท้อนให้เห็นว่าคนชายขอบเรียกร้องสิทธิทางเศรษฐกิจ สิทธิเรื่องอาหารและสุขภาพ และสิทธิในการมีงานทำ และสังคมมีการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของคนชายขอบ คุ้มครองสิทธิเรื่องอาหารสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาค งานวิจัยนี้สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางในการให้ความช่วยเหลือและส่งเสริมพัฒนาคนชายขอบ เพื่อให้สังคมไทยเกิดความสมดุล มั่นคง และยั่งยืน th
dc.description.abstract This study examines the portrayal of marginalized individuals in six Thai novels published between 1997 and 2022. Utilizing qualitative research methodologies, reflection study concepts, and marginalized studies, the research delves into the textual representations and their underlying meanings. The novels depict four primary dimensions of marginalized life: status, living conditions, moral and ethical values, and human rights. In terms of status, the narratives introduce characters such as a convict, a peasant, a child from a broken home, a Vietnamese refugee, a woodsman, a member of a fishing crew, and a cook. Regarding living conditions, many of these marginalized characters lack permanent homes, face food shortages, engage in low-skilled jobs, and have limited access to education. From a moral and ethical standpoint, they are depicted as hardworking, resilient, and responsible. Their human rights are often compromised, particularly in areas like economic rights, physical safety, educational opportunities, transportation rights, and gender equality. The novels further shed light on the marginalized individuals' responses, emphasizing their demands for economic rights, access to food and healthcare, and employment opportunities. At the same time, the broader society is portrayed as offering protection in terms of human rights, food security, freedom, and equality. The findings from this study are anticipated as serving as a framework for the support and elevation of marginalized communities, promoting balance, resilience, and sustainable development in Thai society. th
dc.language.iso th th
dc.subject การวิเคราะห์เนื้อหา th
dc.subject Content analysis (Communication) th
dc.subject นวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์ th
dc.subject Thai fiction -- History and criticism th
dc.subject คนชายขอบ th
dc.subject Marginality, Social th
dc.subject ชายขอบทางสังคม th
dc.subject Marginality, Social th
dc.title ภาพสะท้อนคนชายขอบในนวนิยายไทย พ.ศ. 2540-2565 th
dc.title.alternative Reflections of the Marginalized in Thai Novels, from 1997 to 2022 th
dc.type Article th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account