dc.contributor.author |
อุจฉริต์ อาจาระศิริกุล |
|
dc.contributor.author |
วรรณา คําปวนบุตร |
|
dc.contributor.author |
มัลลิกา นาจันทอง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์ |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์. คณะศิลปศาสตร์ |
th |
dc.date.accessioned |
2024-05-04T09:54:46Z |
|
dc.date.available |
2024-05-04T09:54:46Z |
|
dc.date.issued |
2020 |
|
dc.identifier.citation |
วารสาร ธุรกิจปริทัศน์ 12,2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563) : 188-198 |
th |
dc.identifier.issn |
1905-713X (Print) |
|
dc.identifier.issn |
2651-2351 (Online) |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2130 |
|
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่
https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/245283/166060 |
th |
dc.description.abstract |
การศึกษาบทบาทของภาคีเครือข่ายชุมชนในพื้นที่จังหวัดขอนแก่นและจังหวัดมหาสารคาม ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกด้วยแบบสอบถามแบบมีโครงสร้างกับเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบแหล่งท่องเที่ยวใน 2 จังหวัดประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่รับผิดชอบแหล่งท่องเที่ยวและบุคลากรในภาคเอกชนกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 9คน แบ่งเป็น จังหวัดมหาสารคาม จํานวน 6 คน จังหวัดขอนแก่น จํานวน 3 คนทําการสัมภาษณ์เชิงลึกกับเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานภาครัฐ บุคลากรในภาคเอกชนและผู้ประกอบการ ผู้นําชุมชนและกลุ่มชาวบ้าน ด้วยแบบสอบถามสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้างกับกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 40คนผลการศึกษาพบว่าควรจัดตั้งเครือข่ายการท่องเที่ยวชุมชน ที่ชุมชนบ้านโนนทัน ชุมชนตําบลท่าสองคอนและชุมชนตําบลพระธาตุ องค์กรที่เข้าร่วมเป็นเครือข่ายการท่องเที่ยวชุมชนมี 4 องค์กรได้แก่ หน่วยงานรัฐเป็นที่ปรึกษา เอกชนและผู้ประกอบการเป็นฝ่ายให้บริการแก่นักท่องเที่ยว ผู้นําชุมชนเป็นคณะกรรมการเครือข่ายการท่องเที่ยว และกลุ่มชาวบ้านเป็นฝ่ายผลิตสินค้าจําหน่ายให้กับนักท่องเที่ยวตามบทบาทพื้นที่ของทั้ง 3 ชุมชน พบว่าจุดแข็งคือมีวัดและแหล่งท่องเที่ยวทางศาสนาที่มีชื่อเสียง จุดอ่อนคือแหล่งท่องเที่ยวขาดการพัฒนาแม้มีถนนสายหลักไปยังจังหวัดใกล้เคียง แต่พบว่ามีอุปสรรคคือหน่วยงานราชการที่ให้การสนับสนุนมีงบประมาณจํากัด จากการศึกษาพบว่าทั้ง 3 ชุมชน มีบทบาทในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ชุมชนมีความพร้อมด้านทรัพยากรการท่องเที่ยว หน่วยงานภาครัฐให้การสนับสนุนโครงการพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวของชุมชนและชาวบ้านในชุมชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีตามความสามารถ |
th |
dc.description.abstract |
A study of the potential of a local network for community base tourism in Khon Khaen and Maha Sarakham areas. Methods and tools such as in-depth interview by using structured questionnaires with officials in government agencies responsible for tourist sites in 2 provinces. The population used in the research is staff in government agencies responsible for tourist attractions and personnel in the private sector, conducting in-depth interviews with structured interview questionnaires with 9 sample groups divided into Maha Sarakham Province, 6 people in Khon Kaen Province 3 people conducted in-depth interviews with officials in government agencies Personnel in the private sector and entrepreneurs Community leaders and villagers With a structured interview questionnaire with a sample of 40 people The results show that the local networks should be set for community base tourism at Ban Nontan Ban Thasongkhon and Ban Phratad. Each community has their function as follows, government section has duty as information advisor, non –government section has duty as service sector and community leader has duty as community networks and vocational production has duty as production sector for selling to tourists upon the capabilities of the communities. The strength of the areas is the temple as a center and cultural religion tourist attraction and a center of community. The weakness lack of development of tourist attraction places. Although these areas have main route to another, but their obstacle is government sector has limit budget to support the communities. According to the study, the 3 communities has shown the potential in cultural tourism management, the communities are readiness in culture and religious resources, government sector supporting development projects and tourism activities with collaboration form the villagers. |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.subject |
การท่องเที่ยวโดยชุมชน |
th |
dc.subject |
Rural tourism |
th |
dc.subject |
ชุมชนบ้านโนนทัน (ขอนแก่น) |
th |
dc.subject |
Ban Nontan (Khon Kaen) |
th |
dc.subject |
ชุมชนตำบลท่าสองคอน (มหาสารคาม) |
th |
dc.subject |
Ban Thasongkhon (Maha Sarakham) |
th |
dc.subject |
ชุมชนตำบลพระธาตุ (ขอนแก่น) |
th |
dc.subject |
Ban Phratad (Khon Kaen) |
th |
dc.subject |
การท่องเที่ยว – การจัดการ |
th |
dc.subject |
Travel – Management |
th |
dc.title |
การศึกษาบทบาทของภาคีเครือข่ายในการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนในพื้นที่จังหวัดขอนแก่นและจังหวัดมหาสารคาม : กรณีศึกษา ชุมชนบ้านโนนทัน ชุมชนตำบลท่าสองคอนและชุมชนตำบลพระธาตุ |
th |
dc.title.alternative |
A Study of the Roles of a Local Network for Community Base Tourism in Khon Kaen and Maha Sarakham Areas : Case Study Ban Nontan, Ban Thasongkhon and Ban Phratad |
th |
dc.type |
Article |
th |