DSpace Repository

การประเมินระดับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในลมหายใจเพื่อบ่งชี้การสูบบุหรี่ของกลุ่มนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

Show simple item record

dc.contributor.author ชมพูนุท สินธุพิบูลยกิจ
dc.contributor.author ทินกร เพิ่มพงศ์ไพบูลย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์ en
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะเทคนิคการแพทย์ en
dc.date.accessioned 2024-05-25T06:23:13Z
dc.date.available 2024-05-25T06:23:13Z
dc.date.issued 2018
dc.identifier.citation วารสารเทคนิคการแพทย์ 46, 2 (ส.ค. 2561) : 6589-6603 en
dc.identifier.issn 2985-0924 (Online)
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2329
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmt-amtt/article/view/200980/140516 en
dc.description.abstract การตรวจระดับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในลมหายใจเป็นวิธีที่ใช้ประเมินการสูบบุหรี่ซึ่งมีค่าตัดสิน (cut-off) แตกต่างกันตามลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา การเริ่มสูบบุหรี่เมื่ออายุน้อยกว่า 20 ปี มีความสัมพันธ์กับจำนวนมวนบุหรี่ที่สูบมากขึ้น ระยะเวลาในการสูบและระดับการติดนิโคตินที่มากขึ้น ซึ่งส่งผลต่อความสำเร็จในการเลิกบุหรี่ที่ลดลง การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้การตรวจระดับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในลมหายใจในการรณรงค์การลด ละ เลิกบุหรี่ ในกลุ่มตัวอย่างนักศึกษา และหาค่าตัดสินที่เหมาะสมสำหรับประเมินการสูบบุหรี่ โดยวัดระดับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในลมหายใจและสัมภาษณ์นักศึกษาที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจำนวน 389 คน พบว่ากลุ่มนักศึกษาที่สูบบุหรี่ (200 คน) มีระดับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในลมหายใจสูงกว่ากลุ่มที่ไม่สูบบุหรี่ (138 คน) และกลุ่มที่ได้รับควันบุหรี่มือสอง (51 คน) ตามลำดับ [median (95% CI); 9.00 (8.00, 11.00) ppm vs 3.00 (3.00, 3.00) ppm vs 2.00 (2.00, 3.00) ppm, p < 0.001] มีค่าตัดสินที่เหมาะสมที่ความเข้มข้น ≥ 6 ส่วนในล้านส่วน (ppm) ซึ่งมีความไวและความจำเพาะของวิธีเท่ากับร้อยละ 76.50 และ 96.38 ตามลำดับ โดยความไวของวิธีมีค่าเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 84.12 เมื่อทดสอบในกลุ่มที่สูบบุหรี่มวนสุดท้ายภายใน 6 ชั่วโมง กลุ่มนักศึกษาที่ตั้งใจจะเลิกสูบบุหรี่ (123 คน) มีคะแนนความตระหนักต่อพิษภัยของการสูบบุหรี่สูงกว่ากลุ่มที่ไม่ต้องการเลิกสูบบุหรี่ (4.02 ± 0.95 vs 3.14 ± 1.31, p < 0.001) งานวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการตรวจระดับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในลมหายใจสามารถนําามาใช้เพื่อสร้างความตระหนักต่อพิษภัยของการสูบบุหรี่ในกลุ่มนักศึกษาได้โดยมีค่าตัดสินที่เหมาะสมที่ความเข้มข้น ≥ 6 ส่วนในล้านส่วน en
dc.description.abstract Measurement of exhaled carbon monoxide (eCO) has been used to evaluate tobacco smoking with a range of eCO cut-off point depending on specific populations. Early initiation of smoking before 20 years of age has been associated with greater consumption, longer duration of smoking, and increased nicotine dependence, consequently, influencing smoking cessation. This study aimed to apply eCO test as a tool for smoke free environment campaign by examining baseline eCO levels, the sensitivity and specificity of eCO test, and optimal cut-off value for smoking assessment in samples of the undergraduate students. Total of 389 undergraduate students living in Bangkok Metropolis and Bangkok Metropolitan underwent a measurement of eCO levels and completed questionnaire-based interview seeking demographic information and details of exposure to tobacco smoke, smoking habits and smoking-related knowledge. Active smokers (n = 200) had significantly higher eCO levels than non-smokers (n = 138) and passive smokers (n = 51) [median (95% CI); 9.00 (8.00, 11.00) ppm vs 3.00 (3.00, 3.00) ppm vs 2.00 (2.00, 3.00) ppm, p < 0.001], respectively. The eCO level at ≥ 6 ppm was optimal cut-off value to classify smokers, with sensitivity of 76.50% and specificity of 96.38%. When excluding data of smokers with > 6-hour since last cigarette, sensitivity increased to 84.12%. Obviously, active smokers who desired to quit smoking (n = 123) had a significantly higher awareness scores than those who did not (n = 73) (4.02 ± 0.95 vs 3.14 ± 1.31, p < 0.001). In conclusion, eCO test with optimal cut-off at ≥ 6 ppm is an effective tool to validate smoking status among undergraduate students and raise the student’s awareness on adverse effect of smoking. The reliability of test increased if an individual smoked with ≤ 6-hour prior to test. en
dc.language.iso en_US en
dc.subject คาร์บอนมอนอกไซด์ en
dc.subject Carbon monoxide en
dc.subject การสูบบุหรี่ en
dc.subject Smoking en
dc.title การประเมินระดับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในลมหายใจเพื่อบ่งชี้การสูบบุหรี่ของกลุ่มนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล en
dc.title.alternative Exhaled Carbon Monoxide Level as an Indicator of Smoking among Undergraduate Students in Bangkok Metropolis and Bangkok Metropolitan en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account