DSpace Repository

การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยใช้แนวคิดไคเซ็น กรณีศึกษา กระบวนการเจาะนำศูนย์

Show simple item record

dc.contributor.author ศิลาภรณ์ อ่ำสุข
dc.contributor.author มาริสสา อินทรเกิด
dc.contributor.author Selaphon Amsuk
dc.contributor.author Marisa Intharakoed
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration. Student of Bachelor of Business Administration. en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration en
dc.date.accessioned 2024-07-11T14:22:50Z
dc.date.available 2024-07-11T14:22:50Z
dc.date.issued 2019
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2458
dc.description Proceedings of the 7th National and International Conference on "Research to Serve Society", 12 July 2019 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. p. 863-869. en
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตในโรงงานผลิตประกอบอุปกรณ์แรงเขย่า, เครื่องป้อนชิ้นงาน, แผงควบคุม, อุปกรณ์การผลิตเกี่ยวกับ เซมิคอนดัคเตอร์ โดยมุ่งเน้นไปที่การผลิตอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดแรงสั่นสะเทือนที่ใช้ในอุตสาหกรรม(dive unit! ซึ่งมีการวางแผนที่จะเพิ่มประสิทธิภาพและลดเวลาการผลิตโดยมุ่งเน้นไปที่กระบวนการเจาะ Weight Support LFG - 900 ผู้วิจัยได้ศึกษาขั้นตอนในกระบวนการผลิต พบว่าปัญหาที่ได้จากการศึกษาข้อมูลคือการเจาะ Weight Support LFG - 900 เกิดเวลาสูญเสียในการทำงานเพราะเกิดการดีดตัวของชิ้นงานในขณะที่ทำการเจาะจึงทำให้ต้องหยุดเครื่องจักรในขณะที่ปฏิบัติงานและเกิดเวลาสูญเสียในการทำงาน หลังจากนั้นจึงทำการวิเคราะห์หัวข้อของปัญหาด้วยหลักการของแผนภูมิก้างปลา และวิเคราะห์แนวทางการปรับปรุงและพัฒนาด้วยเทคนิคWhy-Why Analysis เพื่อแก้ไขปัญหา เมื่อได้ข้อสรุปจากหลักการดังกล่าวจึงทำการปรับปรุงและพัฒนาอุปกรณ์ที่ช่วยประคองชิ้นงานหรือ Jigที่สามารถทำให้ชิ้นงานไม่ดีดตัวและสามารถเดินเครื่องจักรต่อเนื่องได้และเพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับการใช้งาน ผลที่ได้จากการปรับปรุงทำให้สามารถลดเวลาการทำงานต่อชิ้นลง จากเดิมใช้เวลา 1,060.42 วินาทีต่อชิ้น ลดลงเหลือ 372.74 วินาทีต่อชิ้น ทำให้ผลิตภาพผลผลิตเพิ่มขึ้นตามไปด้วยจากเดิม 27 ชิ้นต่อวัน เพิ่มเป็น 77 ชิ้นต่อวัน คิดเป็น 64.94% ของผลที่ได้รับทำให้สามารถรองรับปริมาณความต้องการของสายการประกอบที่เพิ่มสูงขึ้นได้ en
dc.description.abstract The objective of this study to improve and increase the efficiency of production processes in the manufacturing plant, equipment, labour, shake, feeder work piece of production equipment, Control Panel,about. Semiconductors, by focusing on the production of the device that was causing the vibration used in industry (drive unit), Which is planning to increase efficiency and reduce production time by focusing on the process of drilling the Weight Support LFG -900. Researchers have studied the steps in the production process. It found that the issue of information research is a drilling Support Weight - loss of time caused 900 LFG because several of the specimen occurs while drilling, thus resulting in a need to stop the machine, while at work and time lost at work. You can then perform an analysis of the main problems with the topic of charts, fishbone and the analysis, development and improvement techniques, Why-Why Analysis to solve problems. When concluded from such principles to update and develop devices that help place the workpiece or Jig that can make the work piece does not eject and can continuously be rational and appropriate use. The result of the update makes it possible to reduce the operation time per piece down.From the original takes 1,060.42 seconds per piece.Reduced to 372.74 seconds per piece. Make the productivity productivity increased, from the original 27 pieces per day. Added a 77-piece per day are 64.94% of the results obtained make it possible to cope with the needs of the increasing assembly line. en
dc.language.iso th en
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject การควบคุมความสูญเปล่า en
dc.subject Loss control en
dc.subject การผลิตแบบลีน en
dc.subject Lean manufacturing en
dc.subject การบริหารงานแบบญี่ปุ่น en
dc.subject Management -- Japan en
dc.subject การบริหารงานผลิต en
dc.subject Production management en
dc.subject การเพิ่มผลผลิตทางอุตสาหกรรม en
dc.subject Industrial productivity en
dc.title การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยใช้แนวคิดไคเซ็น กรณีศึกษา กระบวนการเจาะนำศูนย์ en
dc.title.alternative Processes Improving Production to Increase Productivity Using the Kaizen Concept Case Study of Lead Drilling en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account