DSpace Repository

ภาพสะท้อนกลุ่มคนชายขอบ “ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม” ในนวนิยาย เรื่อง หลังเที่ยงคืนของจำลอง ฝั่งชลจิตร

Show simple item record

dc.contributor.author ZHILAN XU
dc.contributor.author พัชรินทร์ บูรณะกร
dc.contributor.author Patcharin Buranakorn
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts en
dc.date.accessioned 2024-08-23T14:12:31Z
dc.date.available 2024-08-23T14:12:31Z
dc.date.issued 2022
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2657
dc.description Proceedings of the 9th National and International Conference on "Research to Serve Society", 1st July 2022 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. (e-Conference) p. 717-730 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาพสะท้อนกลุ่มคนชายขอบ “ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม” ใน นวนิยายเรื่อง หลังเที่ยงคืนของจาลอง ฝั่งชลจิตร ผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ ศึกษาวิจัยเอกสาร และวิเคราะห์ ตัวบทวรรณกรรม ผลการวิจัยพบว่า นวนิยายเรื่อง หลังเที่ยงคืนของจาลอง ฝั่งชลจิตร ได้สะท้อนภาพกลุ่มคนชายขอบ “ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม” 2 ด้าน คือ ภาพสะท้อนด้านชีวิตความเป็นอยู่ ได้แก่ 1) ที่อยู่อาศัย ที่อยู่อาศัยของกลุ่มคนชายขอบ “ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม” มีลักษณะที่แตกต่างกันตามสถานภาพของบุคคล ขึ้นอยู่กับการงานอาชีพและฐานะทางการเงิน 2) การประกอบอาชีพ กลุ่มคนชายขอบ“ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม” ประกอบอาชีพที่คนส่วนใหญ่ไม่ยอมรับหรือดูถูก เช่น โสเภณี คนขับรถ และ3) อาหารการกิน อาหารการกินของกลุ่มคนชายขอบ “ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม” มี 2 ลักษณะ คือครอบครัวผู้ใช้แรงงานต้องอดข้าวบ่อย ส่วนโสเภณีไม่ต้องกังวลเรื่องอาหารการกินสามารถกินอาหารตามความต้องการได้ ส่วนภาพสะท้อนปัญหา ได้แก่ 1) ปัญหาครอบครัว พบว่า กลุ่มคนชายขอบ“ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม” มีปัญหาระหว่างสามีกับภรรยา และปัญหาการสั่งสอนดูแลลูก 2) ปัญหาอาชญากรรม พบว่า กลุ่มคนชายขอบ “ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม” มีปัญหาการข่มขืนผู้หญิง การฆ่าคนตายและการค้าประเวณี en
dc.description.abstract This research aimed to analyze reflections of marginalized or social underprivileged people in the novel of Chamlong Fangcholajitra called Lang-tiang-keun. The qualitative research approach was applied; document and the novel were analyzed. Research findings focused on two aspects of the social underprivileged people, including ways of life and problems. For ways of life, three aspects were presented, which were 1) dwelling, varying up to occupations and financial status; 2) occupation, mostly contemptible, such as prostitutes, drivers, etc.; and 3) eating, two manners were noticed – irregular meals for workers and sufficient food for prostitutes. For reflections of problems two areas observed were 1) family problems, especially quarrels between husbands and wives, and cultivation of children; and 2) crime problems, including sexual harassment; murders; and prostitution. en
dc.language.iso th en
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject การวิเคราะห์เนื้อหา en
dc.subject Content analysis (Communication) en
dc.subject นวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์ en
dc.subject Thai fiction -- History and criticism en
dc.subject คนชายขอบ en
dc.subject Marginality, Social en
dc.subject ชายขอบทางสังคม en
dc.subject Marginality, Social en
dc.subject จำลอง ฝั่งชลจิตร -- ประวัติและวิจารณ์ en
dc.subject Chamlong Fangcholajitra -- History and criticism en
dc.title ภาพสะท้อนกลุ่มคนชายขอบ “ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม” ในนวนิยาย เรื่อง หลังเที่ยงคืนของจำลอง ฝั่งชลจิตร en
dc.title.alternative Reflections of the Marginalized “Social Underprivileged People” in Lang-tiang-keun, a Novel of Chamlong Fangcholajitra en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account