DSpace Repository

โรคพยาธิใบไม้ปอดในประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.author เพ็ญนภา ชมะวิต
dc.contributor.author Pennapa Chamavit
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology en
dc.date.accessioned 2024-09-07T13:50:19Z
dc.date.available 2024-09-07T13:50:19Z
dc.date.issued 2010
dc.identifier.citation สงขลานครินทร์เวชสาร 28, 5 (กันยายน-ตุลาคม 2553) : 287-293. en
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2775
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ https://medinfo.psu.ac.th/smj2/28_5/pdf28_5/06_pennapa.pdf en
dc.description.abstract โรคพยาธิใบไม้ปอดเป็นโรคปอดที่เกิดจากการมีพยาธิใบไม้สกุล Paragonimus ระยะตัวเต็มวัย อาศัยอยู่ในเนื้อปอดของคนและสัตว์กินเนื้อ การเกิดโรคพยาธินี้ในคน (โฮสต์เฉพาะ) ได้ต้องอาศัยโฮสต์กึ่งกลางตัวที่หนึ่ง (หอยน้ำจืด) และโฮสต์กึ่งกลางตัวที่สอง (ปูภูเขา กั้ง หรือกุ้งน้ำจืดก้ามโต) ซึ่งเป็นวงจรชีวิตที่ซับซ้อน โรคพยาธิใบไม้ปอดเป็นโรคที่ติดต่อจากสัตว์ พบมีความชุกในทวีปเอเชีย มีรายงานว่าคนเป็นโรคพยาธิใบไม้ปอด 10 ชนิดจากทั้งหมดที่มี 50 ชนิด และมีผลต่อคนถึง 39 ประเทศที่อยู่ในทวีปเอเชีย อาฟริกา และอเมริกา จากการประเมินจำนวนคนที่คาดว่าเป็นโรคพยาธิใบไม้ปอดทั่วโลกถึง 22 ล้านคน และ 293 ล้านคนที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นโรคนี้ ผู้ป่วยด้วยโรคนี้ เนื้อปอดจะถูกทำลาย โดยการฝังตัวของพยาธิ ทำให้มีอาการคล้ายคลึงกับวัณโรคซึ่งมักจะทำให้การวินิจฉัยผิดได้ คือมีอาการไอ มีไข้ เจ็บหน้าอก หลอดลมอักเสบ และมักมีเลือดปนออกมากับเสมหะ จากผลการวิจัยทั้งหลายแสดงให้เห็นถึงพยาธิใบไม้ปอดในระยะติดต่อ metacercaria ในโฮสต์กึ่งกลางตัวที่สอง รวมทั้งสัตว์ที่เป็นพาราทีนิคโฮสต์ (paratenic host) และความทนทานของระยะติดต่อ metacercaria ความทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมได้ดียังคงสามารถเป็นตัวการแพร่โรคนี้ได้ ดังนั้นการให้ความสนใจจากหน่วยงานการเฝ้าระวังโรคและสถาบันการศึกษาในการหาความชุกระยะติดต่อ (metacercaria) ของพยาธิใบไม้ปอดในกุ้งน้ำจืด ปูน้ำจืด เพื่อหาข้อมูล ทางสถิติและทางระบาดวิทยาเพื่อให้ความรู้และเผยแพร่ข้อมูลแก่ประชาชนยังคงจำเป็นอยู en
dc.description.abstract Paragonimiasis is a disease caused by adult trematodes of the Paragonimus genus. This zoonosis, adult worms usually parasitize the lungs of humans and carnivores. The infection in humans is the result of a complex transmission cycle that includes two obligatory intermediate hosts, a fresh-water snail and a crustacean or a crayfish and a definitive host. This disease is prevalent in Asia. It has been shown that 10 of more than 50 species of Paragonimus described affect humans in over 39 countries in Asia, Africa and America. It is estimated that 22 million people have paragonimiasis and it is calculated that 293 million people are at risk of being infected. Usually the illness is caused once the parasite has settled itself in the lungs. At the site, the main clinical symptoms include coughing, thoracic pain, and hemoptysis. Paragonimiasis symptoms are very similar to Tuberculosis (TB) symptoms, and patients with paragonimiasis are often misdiagnosed as TB and thus improperly treated. Research has found that the parasite can endure in the metacercaria stage and the infections of paragonimiasis found in the 2nd intermediate hosts and paratenic host can still act as carriers for this disease. Therefore, the paragonimiasis study is still very important in order to achieve correct diagnosis and treatment methods. Public health and Education institutes should study the amount of the parasite in the metacercaria stage in fresh-water crayfish and fresh-water crabs to collect data for statistics and epidemiology. The public should receive information about this disease and should be informed of the harm in consuming raw or not fully cooked fresh-water crayfish, fresh-water crabs, and the possible paratenic hosts. en
dc.language.iso th en
dc.subject โรคพยาธิใบไม้ในปอด en
dc.subject Paragonimiasis en
dc.subject เมตาเซอร์คาเรีย en
dc.subject Metacercariae en
dc.title โรคพยาธิใบไม้ปอดในประเทศไทย en
dc.title.alternative Paragonimiasis in Thailand en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account