การจัดทําแผนที่ทางวัฒนธรรมอําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) เพื่อสํารวจมรดกวัฒนธรรมของอําเภอบางเสาธง ทั้งวัฒนธรรมที่จับต้องได้และวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้2) เพื่อสร้างแผนที่ทางวัฒนธรรมของอําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ ผ่านความร่วมมือของ 5 ภาคีหลัก ประกอบด้วย สถาบันอุดมศึกษา ภาคประชาสังคม/ชุมชน ภาครัฐ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เครือข่าย ศิลปิน และภาคธุรกิจ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม วิธีดําเนินการวิจัย ใช้การสํารวจ การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การประชุมชาวบ้าน และดําเนินการจัดทําแผนที่ทางวัฒนธรรม ซึ่งผลการวิจัย1)รายการมรดกทางวัฒนธรรมอําเภอบางเสาธงมีจํานวนทั้งสิ้น 49รายการ จําแนกเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องได้ (tangible) 21รายการ และมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (intangible) จํานวน 28รายการ2) ได้แผนที่ทางวัฒนธรรมอําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเกิดจากความร่วมมือของ 5 ภาคีหลัก ประกอบด้วย 1) สถาบันอุดมศึกษา 2) ภาคประชาสังคม/ชุมชน 3) ภาครัฐ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4) เครือข่ายศิลปิน และ5) ภาคธุรกิจ
The preparation of the cultural map of Bang Sao Thong District, Samut Prakan Province, aims to: 1) survey the cultural heritage of Bang Sao Thong District, including tangible and intangible aspects, 2) create a cultural map of Bang Sao Thong District, Samut Prakan Province, through collaboration among five main sectors, comprising academic institutions, community or social sector, government or local administration sector, artist networks, and business sector. This is aqualitative research conducted through participatory action research. The research methods include surveys, in-depth interviews, participatory observations, practical training workshops, community meetings, and the development of cultural maps. The research findings are as follows: 1) the cultural heritage list of Bang Sao Thong District includes a total of 49 items, categorized into tangible (21items) and intangible (28 items) cultural heritage; and 2) the cultural map of Bang Sao Thong District, Samut Prakan Province, has been developed through the collaboration of five main sectors: academic institutions, community or social sector, government or local administration sector, artist networks, and business sector. This map enhances community knowledge, understanding, and skills in collecting data for cultural mapping, showcasing the value of cultural heritage, and utilizing the cultural map for beneficial purposes.