DSpace Repository

การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเส้นทางขนส่งชิ้นส่วนยานยนต์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

Show simple item record

dc.contributor.author ณัฐสิริน มีสุข
dc.contributor.author ชุติระ ระบอบ
dc.contributor.author Natsirin Meesuk
dc.contributor.author Chutira Rabob
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration. Student of Bachelor of Business Administration. en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration en
dc.date.accessioned 2024-09-22T13:06:48Z
dc.date.available 2024-09-22T13:06:48Z
dc.date.issued 2023
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2869
dc.description Proceedings of the 10th National and International Conference on "Research to Serve Society", 29 June 2023 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. (e-Conference on Zoom) p. 12-21. en
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการวางแผนเส้นทางขนส่งของบริษัทเพื่อวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคในการจัดเส้นทางขนส่งชิ้นส่วนยานยนต์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการจัดเส้นขนส่งรูปแบบเก่าและรูปแบบใหม่ที่ใช้โปรแกรมสาเร็จรูปเอ็กซ์เซลโซลเวอร์ และฟังก์ชันอีโวลูชันนารี ในการวิจัยได้กำหนดขอบเขตการวิจัย ดังนี้ ศึกษาเฉพาะพนักงานขับรถสี่ล้อขนส่งสินค้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจานวน 37 คน และเจ้าหน้าที่วางแผนขนส่งจำนวน 3 คน รวมทั้งหมด 40 คน โดยการเก็บข้อมูลจากพนักงานขนส่งชิ้นส่วนยานยนต์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเครื่องมือที่นำมาใช้เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งปฐมภูมิ แบบสัมภาษณ์ ผลการศึกษาพบว่ากระบวนการวางแผนเส้นทางขนส่งของบริษัท มีการใช้ความชำนาญในการทำงาน 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (x̅ ) ค่าเฉลี่ยอัตราส่วนส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เมื่อใช้โปรแกรมเอ็กซ์เซลโซลเวอร์ และฟั่งก์ชั่นอีโวลูชั่นนารี ผลที่ได้รับ คือ สามารถลดระยะเส้นทางขนส่งที่สั้นลงกว่าเดิมคือ 105 กิโลเมตร ต่างจากวิธีการจัดเส้นขนส่งรูปแบบเก่าที่ต้องใช้ระยะทางถึง 116 กิโลเมตร en
dc.description.abstract The objective of this research was to explore opinions on the Company's transportation route planning process, to analyze obstacles in routing automotive parts in Bangkok and metropolitan, to compare the efficiency of old and new types of transportation using Excel Solver and Evaluation Function In the research, the scope of research was as 37 four wheeler drivers in Bangkok and metropolitan and 3 transportation planning officers were examined, totaling 40 persons. Tools used to collect data from primary sources Questionnaire interview. The results of the study showed that the company's transportation route planning process Proficient use of 0.90 data analysis using ready-made programs. Statistics used are Percentage, average (x̅ ) Average ratio Standard deviation When using Excel Solver and Evolution function As a result, it can reduce the distance of transportation routes from 116 to 105 kilometers. en
dc.language.iso th en
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject การขนส่งสินค้า en
dc.subject Commercial products -- Transportation en
dc.subject Shipment of goods en
dc.subject เส้นทางรถบรรทุก en
dc.subject Trucks -- Routes en
dc.subject การควบคุมความสูญเปล่า en
dc.subject Loss control en
dc.subject รถยนต์ -- ชิ้นส่วน en
dc.subject Automobiles -- Parts en
dc.title การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเส้นทางขนส่งชิ้นส่วนยานยนต์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล en
dc.title.alternative Optimizing the Routing of Automotive Parts in Bangkok and Metropolitan en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account