DSpace Repository

การจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้วิชาวิทยาภูมิคุ้นกันและทักษะในศตวรรษที่ 21

Show simple item record

dc.contributor.author ศราวุธ สุทธิรัตน์
dc.contributor.author ทวีพร พันธุ์พาณิชย์
dc.contributor.author อิสริยา เอี่ยมสุวรรณ
dc.contributor.author Sarawut Suttirut
dc.contributor.author Taweeporn Phunpanich
dc.contributor.author Issariya Ieamsuwan
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology en
dc.date.accessioned 2024-10-12T13:53:19Z
dc.date.available 2024-10-12T13:53:19Z
dc.date.issued 2019
dc.identifier.citation วารสาร มฉก. วิชาการ 23, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) : 267-278. en
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3014
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/157927/158384 en
dc.description.abstract วิชาภูมิคุ้มกันวิทยามีเนื้อหาที่ซ้บซ้อนทำให้เข้าใจได้ยาก จึงส่งเสริมการเรียนรู้โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมผ่านการทำกิจกรรมที่หลากหลายในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้และทักษะต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับศตวรรษที่ 21 โดยการนำการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาภูมิคุ้มกันให้แก่นักศึกษาเทคนิคการแพทย์ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จำนวน 140 คน ที่ผ่านการวิเคราะห์ผู้เรียนในด้านรูปแบบการเรียนรู้แล้ว พบว่าส่วนใหญ่เป็นแบบมีส่วนร่วมและแบบร่วมมือ โดยให้นักศึกษาวางแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรื่องกระบวนการสร้างภูมิคุ้มกันด้านสารน้ำผ่านการเล่นละคร ซึ่งทำให้นักศึกษาได้พัฒนาผลการเรียนรู้ทั้งห้าด้าน รวมถึงทักษะสำคัญในศตวรรษที่ 21 เมื่อประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมนี้ พบว่ามีระดับความพึงพอใจมาก ส่วนผลการประเมินความรู้จากคะแนนสอบของเนื้อหาดังกล่าว พบว่ามีผลสัมฤทธิผลทางการเรียนสูงกว่าสองปีก่อนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) อย่างไรก็ตามการเรียนรู้จากการฟังบรรยายยังคงมีความสำคัญเพื่อสื่อสารความรู้ในเชิงมโนทัศน์ ส่วนการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมนี้ช่วยเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พัฒนาผลการเรียนรู้ในด้านต่างๆ และเติมเต็มทักษะด้านอื่นแก่นักศึกษาเพื่อการเรียนรู้และใช้ชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในศตวรรษที่ 21 en
dc.description.abstract Due to the complexity of an immunology course, various learning activities were involved in immunology class for promoting learning capability. Participatory learning management was implemented for development of learning outcome and 21st century skills in an immunology class of 140 third year medical technology students at Huachiew Chalermprakiet University. Students were analyzed for individual learning styles and most students were found to be participated and collaborated style learners. Students then designed a learning management plan for the humoral immune responses topic through dramatization to enhance the development of learning outcomes of all five domains of 21st century skills. By evaluating students’ satisfaction, must students were satisfied with participatory learning. Compared with the past two years, assessment of students’ knowledge of humoral immune responses showed significantly higher learning achievement after using participatory learning management (p<0.05). However lecture-based learning is still necessary for communicating conceptual knowledge. The participatory learning process could enhance desired personal characteristics, learning outcomes development and fulfill other sets of skills for effective and efficient learning and living in the 21st century. en
dc.language.iso th en
dc.subject ภูมิคุ้มกันวิทยา en
dc.subject Immunology en
dc.subject วิทยาภูมิคุ้มกัน en
dc.subject การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม en
dc.subject Participatory learning en
dc.title การจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้วิชาวิทยาภูมิคุ้นกันและทักษะในศตวรรษที่ 21 en
dc.title.alternative Participatory Learning Management for Development of Immunology Learning Outcomes and 21st Century Skills en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account