dc.contributor.author |
Zhang Wanna |
|
dc.contributor.author |
ธีรโชติ เกิดแก้ว |
|
dc.contributor.author |
Teerachoot Kerdkaew |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Master of Liberal Arts. |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
en |
dc.date.accessioned |
2024-10-21T14:01:07Z |
|
dc.date.available |
2024-10-21T14:01:07Z |
|
dc.date.issued |
2014 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3088 |
|
dc.description |
การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 7 วันที่ 1 สิงหาคม 2567 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 7,1 (2014) : 256-263. |
en |
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่:
http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/miniconference/article/view/4671 |
en |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาระสำคัญของข้อห้ามเกี่ยวกับสตรีในชุมชนไทยทรงดำ ตำบลหนองปรง อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 25 คน วิเคราะห์และนำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบประเภทของข้อห้ามเกี่ยวกับสตรี 5 ประการ ได้แก่ ข้อห้ามเกี่ยวกับสตรีที่เป็นสาวโสด สตรีที่เป็นภรรยา สตรีที่มีครรภ์ สตรีที่เป็นแม่ และสตรีทั่วไป ที่เกิดจากมูลเหตุสำคัญคือความไม่รู้ ความกลัว และความต้องการใช้ข้อห้ามควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม และพบบทบาทของข้อห้าม 3 ด้าน คือด้านชีวิตมนุษย์ในฐานะเป็นที่พึ่งทางใจ เป็นกรอบแห่งพฤติกรรม ด้านสังคมในฐานะเป็นบรรทัดฐานของการอยู่ร่วมกัน ทำให้สังคมมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สงบสุข และด้านวัฒนธรรมในฐานะเป็นกลไกอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม |
en |
dc.description.abstract |
This qualitative research aims to study the essences of women taboos of the Tai Song-dum tribe in Nong-prong Sub-district, Khao-yoy District, Pethchaburi Province. An in-depth interview is processed with a sample group of twenty five informants. Research findings are reported as a descriptive analysis. The research finds five types of women taboos, including taboos for single women; wives; pregnant women; mothers; and general women. The origin of women taboos is caused by the lack of knowledge; fear; and using the taboo to regulate the tribe members. Roles of women taboos are observed in three aspects, including the personal life aspect - being an emotional refuge, and a behavioral frame; the social aspect – being a norm of harmonized cohabitation; and the cultural aspect – being a process of cultural heritage conservation. |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.rights |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
en |
dc.subject |
ความเชื่อ |
en |
dc.subject |
Belief and doubt |
en |
dc.subject |
ชาวไทยทรงดำ -- ความเป็นอยู่และประเพณี |
en |
dc.subject |
Thai-Songdum -- Social life and customs |
en |
dc.subject |
ชาวไทยทรงดำ -- ไทย -- เพชรบุรี |
en |
dc.subject |
Thai-Songdum -- Thailand -- Pethburi |
en |
dc.subject |
หนองปรง (เขาย้อย) |
en |
dc.subject |
Nong-Prong (Khaoyoy) |
en |
dc.subject |
ข้อห้าม (คติชนวิทยา) |
en |
dc.subject |
Taboo |
en |
dc.subject |
สตรีนิยมกับคตินิยมเชื้อชาติ |
en |
dc.subject |
Feminism and racism |
en |
dc.title |
ศึกษาสาระสำคัญของข้อห้ามเกี่ยวกับสตรี: กรณีศึกษาชุมชนไทยทรงดำ ตำบลหนองปรง อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี |
en |
dc.title.alternative |
A Study of the Key Contents of the Sustained About Women: A Case Study of Thai-Songdum Communities In Nong-Prong Sub-District, Khaoyoy District, Pethburi Province |
en |
dc.type |
Proceeding Document |
en |