DSpace Repository

ภาพสะท้อนสังคมคนจีนในนวนิยายของ เอมี่ ตัน ฉบับแปลภาษาไทย

Show simple item record

dc.contributor.author Lei Lan
dc.contributor.author พัชรินทร์ บูรณะกร
dc.contributor.author Patcharin Buranakorn
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Master of Liberal Arts. en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts en
dc.date.accessioned 2024-10-23T00:47:24Z
dc.date.available 2024-10-23T00:47:24Z
dc.date.issued 2024
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3099
dc.description การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 16 (16th Global Goals, Local Actions: Looking Back and Moving Forward 2024) วันที่ 20 มีนาคม 2567 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 16,2 (2024) : 448-456. en
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/8thconference/article/view/4620 en
dc.description.abstract บทความเรื่อง “ภาพสะท้อนสังคมคนจีนในนวนิยายของ เอมี่ ตัน ฉบับแปลภาษาไทย” มีจุดประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมคนจีนในนวนิยายของ เอมี่ ตัน ฉบับแปลภาษาไทย ด้วยวิธีวิจัยเอกสาร ขอบเขตของการวิเคราะห์ คือ นวนิยาย เรื่อง มาจากสองฝั่งฟ้า เมียเจ้า หนึ่งร้อยสัมผัสลับ และสามสายใยในเงาอดีตบทความวิจัยนี้จะกล่าวถึงภาพสะท้อนสังคมจีนในสหรัฐอเมริกาในนวนิยายของ เอมี่ ตัน ฉบับแปลภาษาไทย ผลการวิจัยพบว่า ภาพสะท้อนสังคมจีนในสหรัฐอเมริกาในนวนิยายของ เอมี่ ตัน ฉบับแปลภาษาไทย สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อและประเพณีของสังคมจีนที่อยู่ในสหรัฐอเมริกา ในด้านความเชื่อได้สะท้อนถึงความเชื่อเรื่องผีหรือปีศาจ ความเชื่อโชคชะตา ความเชื่อเรื่องนรกและสวรรค์ และความเชื่อเรื่องข้อห้าม ส่วนด้านประเพณีได้สะท้อนถึงประเพณีวันไหว้พระจันทร์และประเพณีวันตรุษจีน งานวิจัยนี้พบว่าพ่อแม่ที่เป็นชาวจีนที่อยู่ในสหรัฐอเมริกายังมีความเชื่อแบบชาวจีน และพยายามสืบทอดให้ลูกหลานในชีวิตประจำวัน และปฏิบัติตามประเพณีในวันสำคัญ เช่น วันไหว้พระจันทร์จัดงานเลี้ยงเพื่อรวมญาติพี่น้องมารับประทานอาหารด้วยกัน ในวันตรุษจีน เตรียมอาหารที่มีความหมายมงคล และรวมเพื่อนที่เป็นกลุ่มชาวจีนมารับประทานอาหารข้ามคืนต้อนรับปีใหม่ด้วยกัน ส่วนลูกที่เป็นชาวเมริกาเชื้อสายจีน ความเชื่อและการปฏิบัติประเพณีจะเป็นแบบผสมผสานจีนกับอเมริกา en
dc.description.abstract This research article aims to analyze reflections of Chinese society in the American context. Four translated novels into Thai by Amy Tan, including The Joy Luck Club (1994); The Kitchen God’s Wife (2004); The Bonesetter’s Daughter (2004); and The Hundred Secret Sense (2007) are studied with document research methods. Two areas of the reflections are observed, as the following. 1) Chinese beliefs, relating to spirits and ghosts; destiny; heaven and hell; and taboos. 2) Chinese traditions, namely practices on the Mid-Autumn Festival and on Chinese New Year Day. For the Mid-Autumn Festival, a family party is held to gather all family members and have dinner together. On Chinese New Year Day, auspicious food is prepared for dinner with friends and family members on the last day of the year. It is noticed that Chinese parents living in the USA continue practicing and handing down their Chinese beliefs to their descendants, while the new American Chinese generation practices the mixed cultures. en
dc.language.iso th en
dc.rights มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา en
dc.subject ตัน, เอมี en
dc.subject Tan, Amy en
dc.subject ชาวอเมริกันเชื้อสายจีน -- นวนิยาย en
dc.subject Chinese Americans -- Fiction en
dc.subject การวิเคราะห์เนื้อหา en
dc.subject Content analysis (Communication) en
dc.subject ชาวจีน -- สหรัฐอเมริกา -- นวนิยาย en
dc.subject Chinese -- United States -- Fiction en
dc.subject ชาวจีนในวรรณกรรม en
dc.subject Chinese in literature en
dc.title ภาพสะท้อนสังคมคนจีนในนวนิยายของ เอมี่ ตัน ฉบับแปลภาษาไทย en
dc.title.alternative Reflections of Chinese Society in the Translated Novels into Thai of Amy Tan en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account