DSpace Repository

การเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งโดยใช้แนวคิดมิลค์รัน กรณีศึกษา บริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์

Show simple item record

dc.contributor.author ปวริศา อมราพิทักษ์
dc.contributor.author สิทธิโชค สินรัตน์
dc.contributor.author อภิญญา เทพพนมรัตน์
dc.contributor.author Pavarisa Amarapitak
dc.contributor.author Sittichok Sinrat
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration. Student of Bachelor of Business Administration. en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration en
dc.date.accessioned 2024-10-23T01:40:18Z
dc.date.available 2024-10-23T01:40:18Z
dc.date.issued 2018
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3101
dc.description การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 9 (9th Global Goals Sustainability : Meeting the Challenges & Sharing the Solutions) 20 มีนาคม 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 9, 1 (2018) : 902-910. en
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/8thconference/article/view/1303 en
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการใช้แนวคิดมิลค์รันจัดทำแผนตารางเวลารับชิ้นส่วนยานยนต์ และเพื่อหาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพ การขนส่งชิ้นส่วนยานยนต์โดยการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการเก็บรวบรวมเวลาการทำงานในแต่ละขั้นตอนของการทำงานก่อนและหลังการปรับปรุงวิธีการใหม่ การรับชิ้นส่วนยานยนต์มี 5 ชิ้นส่วน ผลการศึกษา พบว่า หลักการดังกล่าวสามารถหมุนเวียนรถบรรทุกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการรับชิ้นส่วนให้กับรถบรรทุกภายในโรงงานคิดค่าเฉลี่ยก่อนการปรับปรุงร้อยละ 26 หลังการปรับปรุงคิดค่าเฉลี่ยร้อยละ 76 และทำให้ทราบถึงแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งชิ้นส่วนยานยนต์ en
dc.description.abstract The purpose of this study was to investigate the use of the Milk Run concept, to develop a scheduling scheme for automotive parts, and to find out how to optimize the transportation of automotive parts. At each stage of the work before and after the new way of getting the automotive parts, there are 5 parts. The study indicated that the principle is that the truck can be rotated efficiently. In the case of pickup truck parts, the average improvement was 26% after improvement, 76% en
dc.language.iso th en
dc.rights มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา en
dc.subject อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ en
dc.subject Automobile supplies industry en
dc.subject การกำหนดลำดับงาน en
dc.subject Scheduling en
dc.subject ปัญหาการจัดเส้นทางเดินรถ en
dc.subject Vehicle routing problem en
dc.subject การบริหารงานโลจิสติกส์ en
dc.subject Business logistics en
dc.subject ประสิทธิภาพทางอุตสาหกรรม en
dc.subject Industrial efficiency en
dc.title การเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่งโดยใช้แนวคิดมิลค์รัน กรณีศึกษา บริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ en
dc.title.alternative Increase Effi ciency of Transportation by Milk Runs: A Case Study of Automotive Parts en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account