DSpace Repository

การวิเคราะห์เนื้อหาเชิงวัฒนธรรมในแบบเรียนภาษาไทยชุด GUFS ตามทฤษฎีของ Michael Byram

Show simple item record

dc.contributor.author Juncai Li
dc.contributor.author พัชรินทร์ บูรณะกร
dc.contributor.author Patcharin Buranakorn
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Doctor of Arts Program en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts en
dc.date.accessioned 2024-10-27T09:51:56Z
dc.date.available 2024-10-27T09:51:56Z
dc.date.issued 2023
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3162
dc.description การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 14 (14th Hatyai National and International Conference) วันศุกร์ที่ 14 พฤษภาคม 2566 ณ ห้องประชุม Blue Ocean Hall อาคารคณะบริหารธุรกิจ โดย มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และ Online Conference : หน้า 1438-1449 en
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://www.hu.ac.th/conference/proceedings/doc/07%20%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%20Ed/11.Ed-027%20(1438-1449).pdf en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาเชิงวัฒนธรรมในแบบเรียนภาษาไทย 5 เล่ม ของทีมงาน GUFS โดยใช้แนวคิดทฤษฎีการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงวัฒนธรรมในแบบเรียนของ Michael Byram ผลการวิจัยพบว่า 1) เนื้อหาเชิงวัฒนธรรมไทยในแบบเรียนภาษาไทยชุด GUFS ครอบคลุมเนื้อหา เชิงวัฒนธรรมตาม 8 รายการของByram’s Checklist ได้แก่ เนื้อหาด้านการขัดเกลาทางสังคม (46.34%) โครงสร้างทางสังคม (10.98%) กลุ่มสังคม (9.76%) การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (8.54%) เหตุการณ์ประวัติศาสตร์(7.32%) ความเชื่อและพฤติกรรม (6.02%) ภูมิศาสตร์ (6.02%) และสามัญทัศน์ (4.88%) จะน้อยลงตามลำดับ 2) เนื้อหาเชิงวัฒนธรรมจีนที่ปรากฎในแบบเรียนไม่ครอบคลุมเนื้อหาเชิงวัฒนธรรม ตาม 8 รายการของ Byram’s Checklist ได้พบเพียง 5 ด้าน ได้แก่ เนื้อหาด้านการขัดเกลาทางสังคม โครงสร้างทางสังคม การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ 3) ด้านการ เปรียบเทียบ เนื้อหาเชิงวัฒนธรรมไทยมีมากกว่าเนื้อหาเชิงวัฒนธรรมจีนในทุกด้าน ซึ่งสัมพันธ์กับสาเหตุ 2 ประการคือ สาเหตุด้านนโยบายทางการศึกษา และเจตนาของผู้สร้างแบบเรียน en
dc.description.abstract This research aims to analyze cultural contents in five GUFS textbooks of Thai language by evaluation theories of cultural contents in a textbook of Michael Byram. Research findings are: 1) Thai cultural contents in the textbooks studied cover the eight checklists of Byram, including contents of socialization (46.34%); social structures (10.98%); social groups (9.76%); social interactions (8.54%); historical events (7.32%); beliefs and behaviors (6.02%); geography (6.02%); and common views (4.88%). 2) Five areas of Chinese cultural contents are also found, including contents of socialization; social structures; social interactions; historical events; and national geography. 3) The found Thai cultural contents compared to Chinese cultural contents are exceeding; this is relevant to the educational policy and objectives of creators of the textbooks. en
dc.language.iso th en
dc.rights คณะกรรมการการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ en
dc.subject การวิเคราะห์เนื้อหา en
dc.subject Content analysis (Communication) en
dc.subject วัฒนธรรมไทย en
dc.subject Culture en
dc.subject ภาษาไทย – ตำราสำหรับชนต่างชาติ en
dc.subject Thai language -- Textbooks for foreign speakers en
dc.subject ภาษากับวัฒนธรรม en
dc.subject Language and culture en
dc.subject การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม en
dc.subject Intercultural communication en
dc.title การวิเคราะห์เนื้อหาเชิงวัฒนธรรมในแบบเรียนภาษาไทยชุด GUFS ตามทฤษฎีของ Michael Byram en
dc.title.alternative An Analysis of Cultural Contents in GUFS Textbooks of Thai Language by Michael Byram’s Evaluation of Cultural Contents in a Textbook en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account