dc.contributor.advisor |
พรรณราย แสงวิเชียร |
|
dc.contributor.advisor |
Pannarai Saengwichian |
|
dc.contributor.author |
นวพร กรดแก้ว |
|
dc.contributor.author |
Navaporn Krodkaew |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
|
dc.date.accessioned |
2024-12-01T04:29:21Z |
|
dc.date.available |
2024-12-01T04:29:21Z |
|
dc.date.issued |
2003 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3313 |
|
dc.description |
ภาคนิพนธ์ (บธ.ม.) (บริหารธุรกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2546 |
en |
dc.description.abstract |
ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพเป็นปัญหาใหญ่ที่ทุกคนให้ความสนใจ โดยการออกกำลังกายสม่ำเสมอเป็นวิธีรักษาสุขภาพอย่างหนึ่ง แต่จากสภาพความเจริญของกรุงเทพมหานครอย่างไม่เป็นแบบแผนทำให้เกิดปัยหาการจราจรติดขัดอย่างมาก ผู้ทำงานจำนวนมาากต้องใช้เวลาในการเดินทางทำให้ไม่มีเวลาออกกำลังกาย ฟิตเนสเซ็นเตอร์ในอาคารสำนักงานาจึงเป็นทางเลือกใหม่สำหรับผู้ทำงานที่จะจัดสรรเวลามาออกกำลังกายได้โดยสะดวกโดยไม่ต้องเดินทางไกล จากการศึกษาข้อมูลเชิงสำรวจของกลุ่มพนักงานที่ทำงานในอาคารอื้อจือเหลียง (ไม่นับรวมร้านค้าต่างๆ) พบว่า พนักงานส่วนใหญ่ยังไม่ได้เป็นสมาชิกของฟิตเนสเซ็นเตอร์ใดๆ นับเป็นโอกาสอันดีของธุรกิจฟิตเนสเซ็นเตอร์ ผลการศึกษา พบว่า โดยภาพรวมธุรกิจทั้ง 2 ประเภท คือ ศูนย์ออกกำลังกาย และบริการผ่อนคลาย หรือคลายเครีด มีแนวโน้มที่น่าพอใจ โดยผลสำรวจชี้ให้เห็นว่าบริการทุกประเภทมีผู้ระบุว่าสนใจเกินครึ่ง โดยเฉพาะบริการด้านการผ่อนคลาย หรือคลายเครียด พบว่า มีถึงร้อยละ 91.0 และข้อค้นพบที่น่าสนใจ คือ กลุ่มผู้ที่ไม่เคยใช้บริการมาก่อนก็ให้ความสนใจในสัดส่วนที่ไม่น้อย คือ ร้อยละ 79.8 ผลการสำรวจยังแสดงให้เห็นถึงองค์ประกอบที่สร้างความได้เปรียบในการทำธุรกิจดังกล่าวหลายประการ ประการแรก คือ ความได้เปรียบด้านสถานที่ ทำให้กลุ่มเป้าหมายมีความสะดวกในการใช้บริการไม่ว่าจะเป็นด้านการกำหนด หรือวางแผนด้านเวลาที่จะใช้บริการ ซึ่งปัจจัยดังกล่าวถือเป็นความได้เปรียบที่มีน้ำหนักค่อนข้างมาก เนื่องจากเป็นสิ่งที่ตัวอย่างจำนวนมากถึงร้อยละ 72.5 ระบุว่ามีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริกร ประการที่สอง คือ พฤติกรรมการออกกำลังกายซึ่งพบว่ามีตัออย่างถึงร้อยละ 62.4 ที่ออกกำลังกายประจำ คือ สัปดาห์ละครั้ง และร้อยละ 10.6 ที่ออกกำลังกายทุกวัน ประการที่สาม คือ กลุ่มเป้าหมาย จำนวนหนึ่งเป็นผู้ที่ใช้บริการดังกล่าวอยู่แล้วทั้งศูนย์ออกกำลังกาย (ร้อยละ 49.9) และบริการเพื่อผ่อนคลายและคลายเครียด (ร้อยละ 60.2) ประการสุดท้าย คือ ความสนใจใช้บริการข้างต้นมีลักษณะกระจายไปในกลุ่มทั้งชาย และหญิง ระดับปฏิบัติการและระดับบริหาร รวมถึงผู้ที่ไม่เคยใช้บริการมาก่อน กล่าวคือ ความดึงดูดใจดังกล่าาวสามารถเข้าถึงได้ในทุกกลุ่มเป้าหมาย |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.rights |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.subject |
การออกกำลังกาย |
en |
dc.subject |
Exercise |
en |
dc.subject |
พฤติกรรมสุขภาพ |
en |
dc.subject |
Health behavior |
en |
dc.subject |
สถานกายบริหาร |
en |
dc.subject |
Physical fitness centers |
en |
dc.subject |
การตัดสินใจ |
en |
dc.subject |
Decision making |
en |
dc.title |
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการศูนย์ออกกำลังกาย (Fitness Center) และการสมัครสมาชิก : กรณีศึกษาพนักงานบริษัทในอาคารอื้อจือเหลียง |
en |
dc.title.alternative |
The Influencing Factors of Using Services and Be a Member of a Fitness Center : A Case Study of Employees of the Companies in the U Chu Liang Building |
en |
dc.type |
Independent Studies |
en |
dc.degree.name |
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต |
en |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en |
dc.degree.discipline |
บริหารธุรกิจ |
en |