dc.contributor.author |
รุ่งฤดี รัตนวิไล |
|
dc.contributor.author |
Rungrudee Ratanawilai |
|
dc.contributor.other |
Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
en |
dc.date.accessioned |
2024-12-03T12:18:51Z |
|
dc.date.available |
2024-12-03T12:18:51Z |
|
dc.date.issued |
2024 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารบริหารธุรกิจและการจัดการปริทัศน์ 16,1 (มกราคม-มิถุนายน 2567) : 337-351. |
en |
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3339 |
|
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ :
https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/272456/176981 |
en |
dc.description.abstract |
หนี้ครัวเรือนเป็นเงินที่สถาบันการเงินให้กู้ยืมแก่บุคคลธรรมดา นําเงินที่กู้ยืมไปใช้จ่ายเพื่อการอุปโภค บริโภค ประกอบธุรกิจการศึกษา ดูแลสุขภาพ ซื้อที่อยู่อาศัย หนี้ครัวเรือนจึงเป็นข้อผูกพันที่ผู้กู้ต้องชําระหนี้คืนหนี้ครัวเรือนเกิดจากความต้องการของตัวบุคคลบนความคิดที่ว่าของสิ่งนั้นเป็นสิ่งจําเป็น ตามหลักจิตวิทยาทฤษฎีลําดับขั้นความต้องการของ Maslow เรื่อง ความต้องการของมนุษย์เกิดจากความขาดและเมื่อได้รับการตอบสนองที่เพียงพอ ลําดับความต้องการจะเพิ่มขึ้น คือ ต้องการความเจริญสมบูรณ์เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ความต้องการที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้พฤติกรรมของครัวเรือนมีการใช้จ่ายเพิ่มขึ้นทําให้ครัวเรือนติดกับดักการเป็นหนี้ ขาดสภาพคล่องและอิสระภาพทางการเงิน วิธีการที่จะรับมือกับหนี้ครัวเรือน คือ ครัวเรือนต้องมีความรู้ทางการเงินเพื่อใช้ในการวางแผนการใช้จ่ายการออม ภายในครอบครัวการออม ภายในครอบครัวการออม ภายในครอบครัวให้เหมาะสมกับฐานะของตนและยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการดําเนินชีวิตบนพื้นฐานของการมีสติ มีเหตุผล มีความพอดีและมีความสุข |
en |
dc.description.abstract |
Household debt is money that financial institutions lend to individuals. Use the borrowed money for consumption, business, education, health care, and purchasing housing. Household debt is therefore an obligation for the borrower to repay the debt. Household debt arises from personal needs based on the idea that things are necessary. According to the psychology of Maslow's Hierarchy of Needs theory, human needs arise from lack and when they are adequately met. The order of needs will increase, namely wanting complete prosperity for a good quality of life. Increased demand results in increased spending behavior of households. causing households to fall into debt traps Lack of liquidity and financial freedom. The way to deal with household debt is for households to have financial knowledge. To be used in planning spending and savings within the family to suit their status. and adhere to the Sufficiency Economy Philosophy to apply in life on the basis of being mindful, reasonable, fit and happy. |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.subject |
ครัวเรือน – ไทย |
en |
dc.subject |
Households -- Thailand |
en |
dc.subject |
หนี้ |
en |
dc.subject |
Debt |
en |
dc.subject |
ความต้องการ (จิตวิทยา) |
en |
dc.subject |
Need (Psychology) |
en |
dc.subject |
ลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ |
en |
dc.subject |
Maslow's Hierarchy of Needs |
en |
dc.subject |
จิตวิทยาอุตสาหกรรม |
en |
dc.subject |
Psychology, Industrial |
en |
dc.subject |
เศรษฐกิจพอเพียง |
en |
dc.subject |
Sufficiency economy |
en |
dc.subject |
มาสโลว์, อับบราแฮม ฮาโรลด์ |
en |
dc.subject |
Maslow, Abraham Harold |
en |
dc.title |
หนี้ครัวเรือนไทยกับหลักจิตวิทยาตามแนวคิดทฤษฎีลําดับขั้นความต้องการของ Maslow |
en |
dc.title.alternative |
Thai Household Debt and Psychology Based on Maslow's Hierarchy of needs Theory |
en |
dc.type |
Article |
en |