dc.contributor.author |
Wariya Pattharapinyophong |
|
dc.contributor.author |
วริยา ภัทรภิญโญพงศ์ |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
en |
dc.date.accessioned |
2024-12-30T15:31:15Z |
|
dc.date.available |
2024-12-30T15:31:15Z |
|
dc.date.issued |
2019 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารวิทยาการจัดการ 6, 1 (2562) : 1-16. |
en |
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3429 |
|
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ :
https://so03.tci-thaijo.org/index.php/msj/article/view/204141/142261 |
en |
dc.description.abstract |
The increasing growth of medical tourism has led the industry to become a global economic phenomenon. Many countries in Southeast Asia, including Thailand's neighbouring countries of Malaysia and Singapore, are seeking to compete in the medical tourism business due to the immense economic benefits that can be created. Thailand holds numerous competitive advantages over rival destinations, but it is widely believed that for Thailand to become a leading medical tourism hub in the ASEAN region, the country needs to strengthen and boost its operations and marketing in order to attract significantly more medical tourists, and ultimately gain a larger share of the developing medical tourism market. This article presents an analysis of the opportunities and challenges that will arise in developing Thailand as a leading medical tourism destination in the ASEAN region. Factors generating competitive advantages for Thailand are price benefits, medical expertise, a range of tourism products, Thai-style hospitality, a well-established infrastructure and government support in marketing, which provide great opportunities for Thailand. However, there are several challenges facing Thailand, including the risk of medical malpractice, the shortage of physicians and medical staff, insufficient government involvement and cultural and language barriers. |
en |
dc.description.abstract |
การเติบโตของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์กลายเป็นปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจ ผลจากประโยชน์ตอบแทนทางด้านเศรษฐกิจจากการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ทำให้หลายประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านของไทยอย่าง สิงคโปร์ และมาเลเซียต่างให้ความสนใจ และเข้าแข่งขันในธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ ประเทศไทยมีข้อได้เปรียบเชิงการแข่งขันหลายประการ แต่การจะเป็นประเทศผู้นำในฐานะศูนย์กลางทางด้านการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์มิใช่เรื่องง่าย หากประเทศไทยต้องการขยายส่วนแบ่งทางการตลาดสำหรับตลาดการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ซึ่งมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ประเทศไทยยังคงต้องสร้างความเข้มแข็งและกระตุ้นการดำเนินงาน และการทำการตลาด เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวเชิงการแพทย์เพิ่มมากขึ้น บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์โอกาสและความท้าทายของประเทศไทยสู่การเป็นจุดหมายปลายทางด้านการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ชั้นนำของภูมิภาคอาเซียน ข้อได้เปรียบของประเทศไทยที่จะสร้างโอกาสอันดีสำหรับการเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ของภูมิภาคอาเซียน ได้แก่ ค่ารักษาพยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญ ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว การให้บริการแบบไทย โครงสร้างพื้นฐาน และการสนับสนุนของภาครัฐด้านการตลาด อย่างไรก็ตามประเทศไทยยังคงเผชิญกับความท้าทายหลายประการ ได้แก่ ความเสี่ยงจากการรักษาที่ผิดพลาด การขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ การขาดการสนับสนุนโดยภาครัฐอย่างเพียงพอ และอุปสรรคด้านวัฒนธรรมและภาษา |
en |
dc.language.iso |
en_US |
en |
dc.subject |
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ – ไทย |
en |
dc.subject |
Medical tourism – Thailand |
en |
dc.subject |
การแข่งขันระหว่างประเทศ |
en |
dc.subject |
Competition, International |
en |
dc.subject |
การแข่งขันทางการค้า |
en |
dc.subject |
Competition |
en |
dc.subject |
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว – นโยบายของรัฐ – ไทย |
en |
dc.subject |
Tourism -- Government policy -- Thailand |
en |
dc.title |
The Opportunities and Challenges for Thailand in Becoming the Medical Tourism Hub of the ASEAN Region |
en |
dc.title.alternative |
โอกาสและความท้าทายของประเทศไทยสู่การเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ของภูมิภาคอาเซียน |
en |
dc.type |
Article |
en |