DSpace Repository

ภาพแทนผู้หญิงในนวนิยายรางวัลชมนาด พ.ศ. 2563 –2566

Show simple item record

dc.contributor.author Qiao Lan
dc.contributor.author จันทร์สุดา ไชยประเสริฐ
dc.contributor.author Jansuda Chaiprasert
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts en
dc.date.accessioned 2025-01-04T08:30:30Z
dc.date.available 2025-01-04T08:30:30Z
dc.date.issued 2024
dc.identifier.citation Journal of Modern Learning Development 9, 8 (August 2024) : 193-221 en
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3456
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jomld/article/view/270757/184600 en
dc.description.abstract บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาพแทนผู้หญิงในนวนิยายรางวัลชมนาด พ.ศ. 2563-2566 จํานวน 16 เรื่อง โดยประยุกต์ใช้แนวคิดภาพแทนเป็นหลัก การวิเคราะห์ตัวบทนวนิยายและนําเสนอผลการวิจัยเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า ในนวนิยายรางวัลชมนาดมีการนําเสนอภาพแทนผู้หญิงตามขนบของสังคมและภาพแทนผู้หญิงสมัยใหม่ แต่นักเขียนสตรีมีการเน้นภาพแทนผู้หญิงสมัยใหม่เพื่อสนับสนุนผู้หญิงมีพื้นที่ในสังคม ซึ่งเห็นได้จากนักเขียนสตรีรางวัลชมนาดได้สร้างตัวละครหญิงผู้หญิงมีความเป็นสมัยใหม่มากขึ้นสามารถขึ้นมาเป็นผู้นํา มีความตระหนักในด้านสิทธิ และนักเขียนต่างให้ความสําคัญกับประเด็นเรื่องการศึกษาซึ่งเป็นเงื่อนไขสําคัญที่จะนําไปสู่การเปลี่ยนแปลงบทบาทของผู้หญิงในอนาคต ภาพแทนผู้หญิงในนวนิยายรางวัลชมนาด พ.ศ. 2563-2566ในฐานะต่าง ๆ ได้แก่ 1) ในฐานะแม่นําเสนอให้แม่แสดงบทบาทการเป็นแม่ที่ดีคือ ผู้อบรมเลี้ยงดู สั่งสอนลูก และปกป้องลูก และผู้มีบทบาทการเป็นผู้นํา2) ในฐานะภรรยานําเสนอให้ภรรยาเป็นผู้แบ่งเบาภาระทางเศรษฐกิจ และเป็นผู้หญิงเก่งแทนที่แม่ศรีเรือน 3) ในฐานะลูกสาวนําเสนอให้ลูกสาวเป็นผู้ต้องกตัญญู ผู้มีบทบาทการเป็นผู้นํา และผู้ได้รับการศึกษา มีความรู้ความสามารถ และ 4) ในฐานะลูกสะใภ้นําเสนอให้ลูกสะใภ้ไม่ยอมรับและปฏิเสธต่อการใช้อํานาจของแม่สามี ภาพแทนผู้หญิงในนวนิยายรางวัลชมนาดทั้งหมดนี้ทําให้ผู้อ่านตระหนักในคุณค่าของผู้หญิงที่มีความสําคัญต่อครอบครัว และสังคมเป็นอย่างมาก en
dc.description.abstract This article aims to analyze representations of women in sixteen novels winning Chommanard Book Prize, during 2020–2023.Concepts of representations and text analysis are applied in the study. Research findings are reported as a descriptive analysis. The research finds two main representations of women in novels studied, including the traditional women and the modern women. It is noticed that representations of modern women are more promoted for making women recognized in the society. The more modern representations of women are for example being leaders; being aware of their rights; and regarding education as the key stage of changing roles of women in future. Findings of four statuses of women in novels studied are as the following. 1) The mother, performing roles of being good; raising, educating, and protecting children; and being the leader. 2) The wife, sharing economic burden of the family; and being tough more than reserved as a housewife. 3) The daughter, being grateful; performing the leading role; achieving good education; and being efficient. 4) The daughter-in-law, being against the ill-using power of the mother-in-law. All representations shown in the awarded novels persuade readers to realize the values and importance of women in the family and society. en
dc.language.iso th en
dc.subject รางวัลชมนาด en
dc.subject Chommanard Book Prize en
dc.subject การวิเคราะห์เนื้อหา en
dc.subject Content analysis (Communication) en
dc.subject สตรีในวรรณกรรม en
dc.subject Women in literature en
dc.subject นวนิยายไทย – ประวัติและวิจารณ์ en
dc.subject Thai fiction -- History and criticism en
dc.title ภาพแทนผู้หญิงในนวนิยายรางวัลชมนาด พ.ศ. 2563 –2566 en
dc.title.alternative Representations of Women in Novels Winning Chommanard Book Prize, 2020 -2023 en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account