งานวิจัยนี้ศึกษาการเปรียบเทียบวิธีการสกัดเพคตินจากก้านผักตบชวาด้วยกรดไฮโดรคลอริกและน้้ากลั่น โดยศึกษา อุณหภูมิที่ใช้ในการสกัดที่ 65 และ 80 องศาเซลเซียส และใช้เวลาในการสกัด 60 นาทีลักษณะทางกายภาพของเพคตินที่สกัดได้ให้ สีน้้าตาลอมเหลืองถึงสีน้้าตาลเข้ม ร้อยละผลผลิต (%yield) ของเพคตินที่สกัดที่อุณหภูมิ80 องศาเซลเซียสให้ผลผลิตมากที่สุด เท่ากับ ร้อยละ1.42 จากการสกัดด้วยกรดไฮโดรคลอริก นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีของเพคตินที่สกัดได้พบว่า การสกัดด้วยกรดไฮโดรคลอริกที่อุณหภูมิ80 องศาเซลเซียส มีปริมาณเมทอกซิลมากที่สุด เท่ากับ ร้อยละ 87.50±0.00 ซึ่งจัดเป็น ชนิด High methoxyl pectin (HMP) และมีปริมาณกรดกาแลคทูโรนิกมากที่สุด เท่ากับ ร้อยละ 0.80 โดยวิธีการสกัดเพคตินด้วย กรดให้ประสิทธิภาพในการสกัด
เพคตินสูงกว่าวิธีการสกัดด้วยน้ำกลั่น
The aim of this research was to compare between the extraction method of pectin from water hyacinth with hydrochloric acid and distilled water. This was executed by separating parts of stem of water hyacinth to examine by observing the temperature used for extraction at 65 and 80 °C for 60 min. Subsequently, results were found that the physical characteristics of pectin extracted from water hyacinth stem gave yellowish brown to dark brown color. The %yield of extraction from water hyacinth stems with hydrochloric acid at 80 °C gave the highest percentage about 1.42%. Also, the chemical property of the extracted pectin was analyzed. Extracted with hydrochloric acid at 80 °C showed the highest amount of methoxyl group was 87.50±0.00 classifying as high methoxyl pectin (HMP) and the content of galactoronic acid was 0.80%. In conclusion, extraction with hydrochloric acid had higher efficient pectin extraction than that of with distilled water. Keywords: Water hyacinth, Pectin, Methoxyl, Galacturonic acid