DSpace Repository

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการลงทุนในไทยของผู้ประกอบการชาวจีนในนิคมอุตสาหกรรมไทย-จีน จังหวัดระยอง

Show simple item record

dc.contributor.author ชุติระ ระบอบ
dc.contributor.author อัญชลี สมบูรณ์
dc.contributor.author สุชาติ วัฒกานนท์
dc.contributor.author Chutira Rabob
dc.contributor.author Anchali Somboon
dc.contributor.author Suchart Wattaganon
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration en
dc.date.accessioned 2025-05-05T14:06:25Z
dc.date.available 2025-05-05T14:06:25Z
dc.date.issued 2015
dc.identifier.citation วารสาร ธุรกิจปริทัศน์ 7, 1 (มกราคม - มิถุนายน 2558) : 109-130. en
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3852
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/130706/98013 en
dc.description.abstract รายงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการณ์ทั่วไปเกี่ยวกับการลงทุนของผู้ประกอบการชาวจีนในนิคมอุตสาหกรรมไทย-จีน จังหวัดระยอง และวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการลงทุนในไทยของผู้ประกอบการชาวจีนในนิคมอุตสาหกรรมไทย-จีน จังหวัดระยอง โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสานทั้งในเชิงปริมาณ สําหรับข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม และเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บริษัทข้ามชาติชาวจีนที่เข้ามาลงทุนจดทะเบียนในไทย จํานวน 47 บริษัท และจากการสัมภาษณ์จํานวน 15 บริษัท ที่อยู่ในนิคมอุตสาหกรรมไทย-จีน การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลรูปแบบและการบริหารจัดการของบริษัท ใช้ค่าร้อยละ และการแจกแจงความถี่ นําเสนอในรูปแบบตารางและพรรณนาลักษณะของข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการลงทุนในไทย โดยใช้ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน นําเสนอในรูปตารางและแปลผลสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า สถานประกอบการชาวจีนส่วนใหญ่ลงทุนเอง และ 1 ใน 3 ได้รับการส่งเสริมจากบีโอไอ สิ่งที่คาดหวังจากภาครัฐคือ ความยืดหยุ่นในกฎระเบียบ รองลงมาคือ การผ่อนปรนด้านภาษี และแนวโน้มในอนาคต 5 ปีข้างหน้าคือขยายการลงทุนเพิ่มขึ้นในไทย สําหรับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการลงทุนในไทย ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์มากที่สุดจํานวน 3 ปัจจัยจาก 7 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านสาธารณูปโภค ( x̄ =3.64) ปัจจัยด้านโลจิสติกส์และการขนส่ง ( x̄ =3.60) และปัจจัยด้านกฎระเบียบ/กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ( x̄ =3.59) ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ สถานประกอบการชาวจีนส่วนใหญ่บริหารในลักษณะทีมงาน มีการนําวิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่และการสร้างเครือข่ายธุรกิจ สาเหตุสําคัญที่เข้ามาลงทุนไทยเนื่องจากได้รับการส่งเสริมจากสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) และขยายฐานการผลิตมายังแหล่งงานที่มีทักษะและค่าจ้างแรงงานไม่แพง อุปสรรคที่สําคัญคือ พนักงานขาดความกระตือรือร้นและความมุ่งมั่นในการทํางาน รวมทั้งการฝึกฝนด้านการวิเคราะห์และคํานวณ en
dc.description.abstract This research aimed to overview and analyze relational factors of Chinese entrepreneurs investment in Industrial Estate of Thailand. Both qualitative and quantita-tive research methodologies were used. The data was collected primarily from 47 sample companies invested by Chinese entrepreneurs using questionnaire surveys and from interviews with 15 managers of Chinese invested companies in Thai-Chinese Industrial Estate, Rayong. Quantitative analysis was based on general data focusing on descriptive statistics, frequency, percentage, mean and standard deviation. The relational factors were conducted using mean and standard deviation.The results of the research finding showed that most of the companies were self invested and 1 of 3 were in BOI’s promotion investment program. The flexibility in regulation and tax reduction are the companies’ most important expectation. Also, it is expected that investment in Thailand would increase in the next 5 years. The most relational factors are 3 out of 7 factors surveyed, including infrastructure factor ( x̄ =3.64), logistics and transportation factor ( x̄ =3.60) and regulation / related law ( x̄ =3.59). Interview result states that most of the companies are managed mainly by teamwork, modern management and network. The most influencing reason to invest in Thailand is because of BOI promotion investment program and the opportunities to expand the production-base to Thailand where there are skilled labors with low wages. However, the problem usually occurs is that employees are not enthusiastic and not engrossed in their jobs. Accordingly, government sector should provide training programs to encourage high standard of works, including analytical thinking and calculation skills. en
dc.language.iso th en
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject การลงทุน -- ไทย en
dc.subject Investments -- Thailand en
dc.subject การลงทุนของต่างประเทศ -- ไทย en
dc.subject Investments, Foreign -- Thailand en
dc.subject ผู้ประกอบการ -- จีน en
dc.subject Businesspeople -- China en
dc.subject นิคมอุตสาหกรรมไทย-จีน en
dc.subject Thai-China Industrial Real Estate en
dc.subject นิคมอุตสาหกรรม -- ไทย -- ระยอง en
dc.subject Industrial districts -- Thailand – Rayong en
dc.title ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการลงทุนในไทยของผู้ประกอบการชาวจีนในนิคมอุตสาหกรรมไทย-จีน จังหวัดระยอง en
dc.title.alternative Relational Factors toward Chinese Entrepreneurs’ Investment in Thai-Chinese Industrial Estate in Rayong Province en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account