DSpace Repository

การศึกษาแบบจำลองการติดต่อสื่อสารฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม

Show simple item record

dc.contributor.author มนฤทัย วัฏฏะวุฒิสาร
dc.contributor.author พวงชมพู โจนส์
dc.contributor.author Puangchompoo Jones
dc.contributor.other Pathumthani 2 Area Excise Office en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration en
dc.date.accessioned 2025-05-06T09:02:49Z
dc.date.available 2025-05-06T09:02:49Z
dc.date.issued 2014
dc.identifier.citation วารสาร ธรกิจปริทัศน์ 6,1 (มกราคม-มิถุนายน 2557) : 123-140. en
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3857
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full Text) ได้ที่ : https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/143767/106378 en
dc.description.abstract ปัจจุบันในหลายประเทศมีกระแสความตื่นตัวต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะปัญหาภาวะโลกร้อน จึงได้มีการพัฒนาคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการประเมิน การปล่อยก๊าซเรือนกระจก และยังมีการสนับสนุนให้มีการแสดงข้อมูลคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์และบริการ เพื่อสื่อสารไปยังผู้บริโภคอันเป็นการสร้างทางเลือกให้กับผู้บริโภคในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์หรือบริการที่มีคาร์บอนฟุตพริ้นท์ที่ต่ำกว่า การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม 2) ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ และ 3) แบบจําลองการติดต่อสื่อสารฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ การศึกษานี้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างในกรุงเทพมหานคร จํานวน 390 คน ผลการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 25-30 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัท รายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า 30,000 บาท และยังพบว่ากลุ่มตัวอย่างอ่านข้อความเกี่ยวกับวันผลิต/วันหมดอายุเป็นประจำและไม่อ่านฉลากเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมมากที่สุด ส่วนใหญ่ไม่รู้จักคาร์บอนฟุตพริ้นท์ แต่เกือบครึ่งสามารถตอบภาพสัญลักษณ์ของประเทศไทยได้ถูกต้อง ขั้นความรู้คิดอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนขั้นความรู้สึกและขั้นพฤติกรรมอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า เพศที่แตกต่างกันมีผลต่อการรับรู้และการเกิดพฤติกรรมแตกต่างกัน อายุที่แตกต่างกันมีผลต่อการเปิดรับข้อมูลและความเข้าใจแตกต่างกันขั้นความรู้คิดมีความสัมพันธ์กับขั้นความรู้สึกในทิศทางเดียวกันที่ระดับปานกลาง แต่ด้านการเปิดรับข้อมูลมีความสัมพันธ์กับด้านการเกิดความตั้งใจซื้อในทิศทางเดียวกันที่ระดับต่ำ ส่วนด้านความเข้าใจไม่มีความสัมพันธ์กับขั้นความรู้สึก ขั้นความรู้สึกมีความสัมพันธ์กับขั้นพฤติกรรมในทิศทางเดียวกันที่ระดับปานกลาง สําหรับข้อเสนอแนะ ภาครัฐควรให้ข้อมูลและความรู้แก่ประชาชน ส่วนภาคธุรกิจควรใช้เครื่องมือในการสื่อสารด้วยการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ผู้บริโภครู้จักฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ในจํานวนที่เพิ่มมากขึ้น en
dc.description.abstract Recently, many countries have been aware of the world environment si, especially the global warning problem. Carbon footprint is on of tools to assess greenhouse gas emissions, it has been supported to transfer information to customers in order to provide solutions for consumer to make decision in purchasing low carbon products or service. Objectives of this study were 1) explore personal factors of respondents 2) find out knowledge on respondents’ carbon footprint label of products and 3) study an appropriate communication model of carbon footprint label. This study is quantitative research, 390 questionnaires were distributed in Bangkok. The study found that the majority of sample was female, 25-30 years old, hold bachelor’s degree, work as employee in private companies with average monthly income of more than 30,000 Baht. Most of sample has always read production date/expiry date, but have not read label involved with environment information. Although the majority of respondents did not have knowledge about carbon footprint but almost of them were able to answer carbon footprint symbol of Thailand. The results of communication model test showed that at the cognitive stage was at moderate level, affective stage and behavioral stage were at high level. The results of hypotheses testing represented that different gender affected to respondents’ perception and behavior. The different age affected to exposure stage and cognitive stage. Cognitive stage correlated to affective stage at a moderate level. Exposure state correlated to intention at a low level. Cognitive stage did not correlate to affective stage. Affective stage correlated to behavioral stage at a moderate level. Suggestions for this study are 1) public sector should provide more information and knowledge on carbon footprint to Thai people 2) advertising and public relation are main communication tools to increase knowledge about carbon footprint label to their customers. en
dc.language.iso th en
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject คาร์บอนฟุตพริ้นท์ en
dc.subject Carbon footprint en
dc.subject การลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก en
dc.subject Greenhouse gas mitigation en
dc.subject ฉลากเขียว en
dc.subject Green Label en
dc.subject ฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ en
dc.subject Carbon footprint label en
dc.subject แบบจำลองการสื่อสาร en
dc.subject Communication models en
dc.subject ผลิตภัณฑ์อาหาร en
dc.subject ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม en
dc.title การศึกษาแบบจำลองการติดต่อสื่อสารฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม en
dc.title.alternative A Study of Communication Model of Carbon Footprint Label: A Case Study of Food and Beverage Products en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account