DSpace Repository

Browsing คณะเภสัชศาสตร์ by Author "Rattana Indranupakorn"

Browsing คณะเภสัชศาสตร์ by Author "Rattana Indranupakorn"

Sort by: Order: Results:

  • รัตนา อินทรานุปกรณ์; ศิรประภา ทับทิม; อรนิภา วงศ์สีลโชติ; ชวาลินี อัศวเหม; หรรษา มหามงคล; วิชชุตา เพชรชู; ภูริต ธนะรังสฤษฎ์; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Rattana Indranupakorn; Siraprapa Tubtim; Onnipa Wongseelashote; Chawalinee Asawahame; Hansa Mahamongkon; Wichuta Petcharoen; Phurit Thanarangsarit; Bunnasorn Techajumlernsuk (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2019)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเหมาะสมของหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2557) ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติใน 4 ด้านตามแบบจำลองของชิปป์ ได้แก่ ด้านบริบทของหลักสูตร ด้านปัจจัยเบื้องต้นของหลักสูตร ...
  • รัตนา อินทรานุปกรณ์; ศิรประภา ทับทิม; วิชาญ จันทร์วิทยานุชิต; ทิพย์ ทวีศรี; ศรัณย์ กอสนาน; ชวาลินี อัศวเหม; ธาริณี ตันตระกูล; Rattana Indranupakorn; Siraprapa Tubtim; Wicharn Janwitayanuchit; Thip Thaveesri; Sarun Gorsanan; Chawalinee Asawahame; Tarinee Tantarkul (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2005)
    การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อประเมินหลักสูตรเภสัชกรรมบัณฑิต (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2543) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยใช้รูปแบบการประเมินซิปป์ (CIPP Evaluation Model) โดยประเมินหลักสูตรใน 4 ด้าน คือ ด้านบริบท ...
  • จุฑามาศ อุทุมภา; Chutamas Uthumpa (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2013)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความคงตัวของ 6-Gingerol ซึ่งเป็นสารสำคัญในสารสกัดขิงโดยพัฒนาในรูปแบบตำรับนาโนอิมัลชันและประเมินประสิทธิภาพของตำรับในการลดเซลลูไลท์ โดยเริ่มจากการศึกษาวิธีสกัดและชนิดตัวทำละลายที่เหมาะสม ...
  • ชุติมา บุญรัตน์; Chutima Boonrat (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความคงตัวของ α-mangostin ซึ่งเป็นสารสำคัญในสารสกัดเปลือกมังคุด (Garcinia mangostana L.) โดยพัฒนาในรูปแบบตำรับไมโครอิมัลชัน โดยเริ่มจากการศึกษาเปรียบเทียบวิธีการสกัด 3 วิธี (การหมัก ...
  • อัจฉราภรณ์ สิงห์หาญ; Aujsharaporn Singhan (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2015)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพิ่มความคงตัวของสารคาเทชิน ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักที่พบในสารสกัดชาเขียว (Camellia sinesis) โดยพัฒนาในรูปแบบตำรับไมโครอิมัลชัน โดยศึกษาผลของอุณหภูมิ (80 และ 100 °C) เวลา (15 และ 30 นาที) และตัวทำละลาย ...
  • รัตนา อินทรานุปกรณ์; Rattana Indranupakorn (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2005)
    ฟ้าทะลายโจร (Andrographis paniculata Wall ex. Nees) เป็นพืชสมุนไพรที่นิยมใช้กันอย่างกว้างขวาง เพื่อควบคุมคุณภาพทั้งวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ของฟ้าทะลายโจร จึงทำการสกัดแยกสารสำคัญหลัก (andrographolide) และสารสำคัญรอง ...
  • โชติรส กิจสมชีพ; Chotirod Kitsomchip (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2022)
    กระชายและกาแฟสายพันธุ์โรบัสต้าเป็นสารธรรมชาติที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพของมนุษย์ และใช้เป็นยาพื้นบ้านในหลายส่วนของโลก ได้ทำการศึกษาประสิทธิภาพของเทคนิคการสกัดและตัวทำละลายที่ใช้ในสกัดพืชทั้งสองชนิดที่ให้ปริมาณสารประกอบฟีนอลิ ...
  • ฐิตารีย์ ลักษณ์สุวงศ์; Dhitaree Luxsuwong (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2014)
    ไลโคปีนเป็นสารแคโรทีนอยด์มีโครงสร้างประเภทชอบไขมันซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่มีประสิทธิภาพในระบบป้องกันทางในผิวหนัง เนื่องจากไลโคปีนไม่คงสภาพภายใต้แสงและน้ำ ในการศึกษานี้ ได้ทำการแยกไลโคปีนจากมะเขือเทศและพัฒนาระบบนำส่ง ...
  • กังสดาล วิเชียรศิลป์; Kangsadarn Wicheansin (มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2012)
    การทดลองกักเก็บน้ำมันเสม็ดขาวในรูปไมโครแคปซูล โดยใช้เทคนิคการทำให้แห้งแบบพ่นฝอยและศึกษาความคงตัวของโมโครแคปซูล จากการทำสอบความคงตัวของอิมัลชันในสภาวะเร่ง แล้วศึกษาขนาดของหยดอิมัลชันและค่าศักย์ซีตาของอิมัลชันจากน้ำมันเสม็ดขาว ...
  • ชุติมา บุญรัตน์; รัตนา อินทรานุปกรณ์; Chutima Boonrat; Rattana Indranupakorn (2015)
    จากการศึกษาเปรียบเทียบวิธีการสกัด 3 แบบ (การใช้เครื่องเขย่า การใช้คลื่นเสียงความถี่สูงและการสกัดแบบต่อเนื่อง) และตัวทำละลายที่ใช้ในการสกัด 2 ชนิด (เมทานอลและเอทานอล) ที่สามารถสกัดสารสำคัญแอลฟาแมงโกสทีนจากเปลือกมังคุดได้สูงสุด ...

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account