Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1021
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวลัยรัตน์ ประจักษ์วิกรานต์-
dc.contributor.authorพิจิตรา ชัยสิงห์ประสาท-
dc.contributor.authorชนิกา เจริญจิตต์กุล-
dc.contributor.authorชฎาภา ประเสริฐทรง-
dc.contributor.authorWalairat Prajakwigran-
dc.contributor.authorPichittra Chaisinghaprasat-
dc.contributor.authorChanika Jaroenjitkul-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursingth
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing-
dc.date.accessioned2023-01-03T07:48:20Z-
dc.date.available2023-01-03T07:48:20Z-
dc.date.issued1998-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1021-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงเจตคติของนักศึกษาที่มีต่อมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยใช้กระบวนการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวทรอตเซอร์ โดยมีสมมุติฐานการวิจัยดังนี้คือ “นักศึกษาที่เข้าร่วมกระบวนการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวทรอตเซอร์ จะมีเจตคติที่ดีต่อมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนเข้าร่วมกระบวนการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวทรอตเซอร์” กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2539 ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เฉพาะหลักสูตร 4 ปี จำนวน 31 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบวัดเจตคติของนักศึกษาที่มีต่อมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ที่คณะผู้วิจัยสร้างขึ้น และแบบประเมินผลกระบวนการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม ซึ่งคณะผู้วิจัยได้ดัดแปลงมาจากแบบประเมินผลที่สร้างขึ้นโดย นราพงศ์ ณ ลำพูน (2536) และ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้การทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มทดลอง ซึ่งวัดก่อนและหลังจากทดลอง โดยใช้การทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่านักศึกษาที่เข้าร่วมกระบวนการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวทรอตเซอร์ ได้คะแนนจากแบบวัดเจตคติของนักศึกษาที่มีต่อมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสติติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01.th
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study the effects of Trotzer’s group counseling on increasing students attitude towards Huachiew Chalermprakiet University. Hypothesis was that students attitude after participation in Trotzer’s group counseling would increase significantly. The subjects were 31 undergraduate students attitude towards Huachiew Chalermprakiet University. Who had score on attitude towards Huachiew Chalermprakiet University test and were randomly assigned to the experimental group. The instruments for data collecting were the attitude towards Huachiew Chalermprakiet University test and the effects of Trotzer’s group counseling test which were development by the researcher. The T-test were applied to analyze the obtained data. Results revealed that experimental-group students had increased their attitude towards Huachiew Chalermprakiet University after participation in Trotzer’s group counseling correlated significantly at the .01 level.-
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ -- นักศึกษา -- ทัศนคติth
dc.subjectHuachiew Chalermprakiet University -- Students -- Attitudesth
dc.subjectการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มth
dc.subjectGroup counselingth
dc.subjectการสำรวจทัศนคติth
dc.titleผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวทรอตเซอร์ที่มีต่อการเพิ่มเจตคติของนักศึกษาต่อมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.title.alternativeEffects of Trotzer's Group Counseling on Increasing Students Attitude towards Huachiew Chalermprakiet Universityth
dc.typeTechnical Reportth
Appears in Collections:Nursing - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdf250.99 kBAdobe PDFView/Open
tableofcontent.pdf77.19 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf375.33 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf988.95 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdf377.94 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdf260.73 kBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdf551.8 kBAdobe PDFView/Open
Chapter6.pdf183.63 kBAdobe PDFView/Open
Reference.pdf559.33 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.