Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1207
Title: 《京华烟云》与《四朝代》女性形象比较研究
Other Titles: การศึกษาเปรียบเทียบภาพลักษณ์สตรีในวรรณกรรมเรื่อง "ตระกูลใหญ่ในม่านเมฆ" และ "สี่แผ่นดิน"
A Comparative Study of Female Images in “Moment in Peking” and “Four Reigns”
Authors: 范军
Fan, Jun
李霄霄
Li, Xiaoxiao
Keywords: สตรีในวรรณกรรม
Women in literature
文学中的女性
วรรณกรรมจีน -- ประวัติและวิจารณ์
Chinese literature -- History and criticism
中国文学 -- 历史与批评
วรรณกรรมไทย -- ประวัติและวิจารณ์
Thai literature -- History and criticism
泰国文学 -- 历史与批评
วรรณคดีเปรียบเทียบ -- จีนกับไทย
Comparative literature -- Chinese and Thai
比较文学
สี่แผ่นดิน (นวนิยาย) -- การวิจารณ์และการตีความ
Four Reigns -- Criticism and interpretation
ตระกูลใหญ่ในม่านเมฆ (นวนิยาย) -- การวิจารณ์และการตีความ
Moment in Peking -- Criticism and interpretation
การวิเคราะห์เนื้อหา
Content analysis (Communication)
内容分析
《四朝代》
《京华烟云》
Issue Date: 2011
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: 林语堂的《京华烟云》和克立•巴莫的《四朝代》分别是中泰两国现代文学中十分重要的两部长篇小说作品,他们都由男性作家所著,却在小说中塑造了大量的女性形象,是两部了解中泰现代社会生活与变革的优秀文学作品。通过对两部作品女性形象的比较研究,可以让我们更好的了解中泰两国的社会、文化、价值观的异同,对探寻东方文学的共同美学本质也具有重要的价值。在两位作者笔下的人物形象中,女性形象丰富多彩、生动细腻,有的是作者心目中的理想女性,有的是具有反叛意识的觉醒女性,也有的是封建保守的旧式妇女,更有极具东方婚俗特色的妾形象。而在国内外的论文著作中,笔者还没有发现有学者对这两部作品进行比较研究,更缺乏对两国妾形象的比较研究,笔者认为在这两点上,本文具有相当的创新性。本文将分为四个章节,前三章分别从创作背景、小姐形象、妾形象入手来比较两部作品中女性形象的异同,然后通过最后一章的总结,来得出造成这些异同点的原因有哪些。
นวนิยายเรื่อง "ตระกูลใหญ่ในม่านเมฆ" ประพันธ์โดยหลินอวี่ถัง และ "สี่แผ่นดิน" ประพันธ์โดยหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชนั้น ถือเป็นวรรณกรรมร่วมสมัยของทั้งประเทศไทยและประเทศจีน ซึ่งมีความสำคัญไม่น้อย โดยนวนิยายทั้งสองเรื่องนี้เขียนขึ้นโดยบุรุษเพศ แต่กลับมีการสร้างตัวละครที่เป็นสตรีเพศขึ้นมาอย่างหลากหลายในเนื้อเรื่อง ถือเป็นนวนิยายที่สะท้อนภาพชีวิตความเป็นอยู่ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้อย่างดีเยี่ยม การเปรียบเทียบวิเคราะห์นวนิยายทั้งสองเรื่องนี้ สามารถทำให้เราเข้าใจถึงความคล้ายคลึงและความแตกต่างของลักษณะสังคม วัฒนธรรม และค่านิยมของทั้งสองประเทศได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการแสวงหาสุนทรียศาสตร์ร่วมของวรรณกรรมแห่งโลกตะวันออกต่อไปบุคลิกลักษณะของตัวละครที่ผู้ประพันธ์ทั้งสองกำหนดไว้นั้น ภาพลักษณ์ของตัวละครสตรีมีความสมบูรณ์แบบ และมีความละเอียดอ่อนลึกซึ้งทุกอากัปกิริยา ตัวละครบางตัวคือสตรีในอุดมคติของผู้ประพันธ์เอง แต่บางตัวก็มีลักษณะต่อต้านและตื่นตัว อีกทั้งยังมีตัวละครที่เป็นกุลสตรีแบบสังคมศักดินาโดยแท้ ตัวละครบางตัวมีเอกลักษณ์พิเศษตามสภาพครอบครัวทางประเทศแถบตะวันออก นั่นคือการเป็นอนุภรรยา ซึ่งไม่ว่าจะเป็นปริญญานิพนธ์ทั้งในประเทศจีนและต่างประเทศ ตัวผู้เขียนเองยังไม่พบว่าเคยมีผู้ใดวิจัยวรรณกรรมสองเรื่องนี้มาก่อน และที่ขาดคือ การวิจัยภาพลักษณ์ของสตรีที่สวมบทบาทของอนุภรรยา ในครอบครัวของทั้งสองวัฒนธรรม ผู้เขียนเห็นว่าสองข้อนี้ถือเป็นความแปลกใหม่สำหรับวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ โดยเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้แบ่งออกเป็น ๔ บทด้วยกัน ประกอบด้วย ๓ บทแรก ได้แก่ ภูมิหลังของการเขียน ภาพลักษณ์ของอิสตรีในบทบาทของภรรยาหลวง และภาพลักษณ์ของอิสตรีในบทบาทของอนุภรรยา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของตัวละครสตรี ที่ปรากฎอยู่ในวรรณกรรมทั้งสองเรื่อง บทสุดท้ายจะสรุปถึงที่มาที่ไปของความเหมือนและความแตกต่างของตัวละครดังกล่าวข้างต้น
“Moment in Peking” written by a Chinese writer called Lin Yutang and “Four Reigns” written by a Thai writer named Kukrit Pramoj are very important novels in terms of contemporary literature for both China and Thailand. They were written by male writers, but had created a large number of female images in the novels, reflecting ways of lives and constant changes of the respective societies. By comparing and analyzing the female images between the two novels, it would give us a better understanding of similarities and differences of societies, cultures and social values of the two nations. This would be beneficial to further attempts in search of common aesthetic value of oriental literature in the future.Among the personality of characteristics in the novels portrayed by the two writers, female images have been vivid in every manner and almost in perfect form. Some female images are ideal characters in the minds of the writers, some are aggressive and fully aware of themselves, yet there are some born with female characters in the feudal society. Lastly, there are some with unique images which only exist in oriental societies that is to become minor wives. As far as I know, there has never been a thesis studying about the comparison of these two novels before, especially on the point of comparing and analyzing the minor wife images in China and Thailand; therefore, the writer of this thesis believes it should have innovative views in this thesis. This thesis comprises four chapters. The first three chapters describe the background of the writers, female images and minor wife images, and the fourth chapter gives a summary of the reasons which result in differences of these females.
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2011
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1207
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdf521.67 kBAdobe PDFView/Open
Table of contents.pdf382.89 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf379.95 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf546.03 kBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdf499.56 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdf344.19 kBAdobe PDFView/Open
References.pdf421.93 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.