Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1479
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรรณราย แสงวิเชียร-
dc.contributor.authorศิริลักษณ์ เกษมธีระสมบูรณ์-
dc.contributor.authorPannarai Saengwichian-
dc.contributor.authorSiriluk Kasemteerasomboon-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2023-12-09T11:44:16Z-
dc.date.available2023-12-09T11:44:16Z-
dc.date.issued2005-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1479-
dc.descriptionการศึกษาด้วยตนเอง (บธ.ม.) (บริหารธุรกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2548-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง “ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอก ต่อหน่วยตรวจสอบสิทธิ์ โรงพยาบาลศิริราช” เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอกต่อหน่วยตรวจสอบสิทธิ์ โรงพยาบาลศิริราช มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อการให้บริการหน่วยตรวจสอบสิทธิ์ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลศิริราช เพื่อศึกษาเปรียบเทียบกับระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการหน่วยตรวจสอบสิทธิ์ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลศิริราช และเพื่อศึกษาความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ใช้บริการต่อการให้บริการหน่วยตรวจสอบสิทธิ์ แผนกผู้ป่วย โรงพยาบาลศิริราชในการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้ตัวอย่าง 400 ตัวอย่าง โดยกลุ่มตัวอย่างที่ทำการคัดเลือกเป็น Non-probability Sampling แบบการเลือกตัวอย่างโดยใช้ความสะดวก (Convenience Sampling) สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยจัดทำโดยได้นำแบบสอบถามที่ได้รวบรวมมาวิเคราะห์ ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรม SPSS for Window สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่ออธิบายข้อมูลลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง และตัวแปรที่ศึกษา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคลซึ่งเป็นตัวแปรอิสระ กับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการของกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นตัวแปรตาม โดยการวิเคราะห์ด้วยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA (f-test) การทดสอบสมมติฐานได้กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ส่วนใหญ่จะมีอายุระหว่าง 20-30 ปี ด้านสถานภาพส่วนใหญ่จะสมรสแล้ว ระดับการศึกษาส่วนใหญ่จะอยู่ในระดับปริญญาตรี อาชีพส่วนมากจะเป็นพนักงานบริษัท/รับจ้าง ระดับรายได้จะอยู่ประมาณ 5,001-10,000 บาท การเดินทางมารับบริการส่วนใหญ่มาโดยรถโดยสาร ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่มีระยะเวลาในการมารักษาอยู่ในช่วง 4-6 ปี เหตุผลของการมาใช้บริการส่วนใหญ่เพราะมีทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ, มีเครื่องมือทางการแพทย์ที่ทันสมัย แผนกที่มาทำการตรวจรักษาส่วนใหญ่เป็นแผนกอายุรศาสตร์ ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่อยู่ในช่วงเวลา 10.00 น.-12.00 น. ด้านการชำระค่าบริการบริการส่วนใหญ่จะใช้บัตรทอง (บัตร 30 บาท) จากการสำรวจด้านความพึงพอใจ แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ความพึงพอใจมากที่สุด ความพึงพอใจมาก ความพึงพอใจปานกลาง ความพึงพอใจน้อย และความพึงพอใจน้อยที่สุด และแบ่งความพึงพอใจออกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านการบริการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ และด้านบรรยากาศ สถานที่ ซึ่งทั้ง 3 ด้าน พบว่า มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ถึงระดับมากth
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectโรงพยาบาล -- บริการผู้ป่วยนอกth
dc.subjectHospitals -- Outpatient servicesth
dc.subjectความพอใจของผู้ใช้บริการth
dc.subjectUser satisfactionth
dc.subjectบริการทางการแพทย์th
dc.subjectMedical careth
dc.titleความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอกต่อหน่วยตรวจสอบสิทธิ์โรงพยาบาลศิริราชth
dc.title.alternativeOut Patient's Satisfactions with the Service of the Verify Complishment Unit, Siriraj Hospitalth
dc.typeIndependent Studiesth
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineบริหารธุรกิจth
Appears in Collections:Business Administration - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siriruk-Kasemtheerasomboon.pdf1.07 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.