Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/171
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภรัฐ หงษ์มณี-
dc.contributor.authorวาสนา นารักษ์-
dc.date.accessioned2022-04-28T14:29:36Z-
dc.date.available2022-04-28T14:29:36Z-
dc.date.issued2000-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/171-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สส.ม.) (การจัดการโครงการสวัสดิการสังคม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2543th
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการรับรู้สิทธิผู้ป่วยรายด้าน ได้แก่ สิทธิที่ได้รับเพื่อสุขภาพโดยไม่เลือกปฏิบัติ ด้านสิทธิที่ได้รับข้อมูลอย่างเพียงพอและชัดเจน ด้านสิทธิส่วนบุคคลในร่างกายของตนเองและด้านสิทธิในความปลอดภัยจากการรักษาพยาบาล รวมทั้งปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้สิทธิผู้ป่วยและเปรียบเทียบความแตกต่างของการรับรู้สิทธิผู้ป่วยรายด้าน ตามกลุ่ม อายุ เพศ ระดับการศึกษา ลักษณะอาชีพของประชาชนในจังหวัดสมุทรปราการ การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC+ ผลการศึกษาปรากฏดังนี้ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นชาย อายุระหว่าง 18-25 ปี ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาปริญญาตรีและมีอาชีพที่ไม่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ ประสบการณ์การรับรู้สิทธิ แบ่งเป็นประสบการณ์ทางตรงพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเป็นผู้ป่วยในสถานพยาบาล/โรงพยาบาล และได้ดูแลผู้ป่วยนาน ๆ ครั้ง ประสบการณ์ทางอ้อมส่วนใหญ่รับข่าวสารจากวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ และแผ่นป้าย/ประกาศ รับข่าวสารจากญาติพี่น้อง บุคคลที่รู้จักนาน ๆ ครั้งและส่วนใหญ่ไม่เคยเข้าร่วมสัมมนา ระดับการรับรู้สิทธิผู้ป่วยพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยการรับรู้สิทธิผู้ป่วยในระดับสูงทั้ง 4 ด้าน ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้สิทธิผู้ป่วยพบว่าปัจจัยด้านชีวสังคมที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้สิทธิผู้ป่วย ได้แก่ อายุมาก และอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ประสบการณ์การรับรู้ข่าวสารทางตรงที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้สิทธิผู้ป่วย ได้แก่ การเป็นผู้ป่วยในสถานพยาบาล/โรงพยาบาลบ่อยและการได้ดูแลผู้ป่ายบ่อย ประสบการณ์การรับรู้ข่าวสารทางอ้อมที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้สิทธิผู้ป่วยได้แก่ การรับรู้ข่าวสารจากสื่อบ่อย เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ และแผ่นป้ายประกาศ การได้เข้าร่วมสัมมนาบ่อย และการได้รับข้อมูลบอกเล่าจากญาติพี่น้องบ่อย จากผลการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยจึงขอเสนอแนะว่าควรมีการรณรงค์อย่างจริงจังในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงในเรื่องสิทธิผู้ป่วยทางสื่อต่าง ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ และแผ่นป้ายประกาศ เพื่อมิให้ประชาชนถูกละเมิดสิทธิและบุคลากรทางการแพทย์ตระหนักและสำนึกในหน้าที่และปฏิบัติต่อผู้ป่วยด้วยความเคารพในสิทธิผู้ป่วยth
dc.description.abstractThe purposes of this research are to study the degree of the patient’s rights perception such as the rights to received medical services without discrimination, the rights to receive enough and clear information, the personal rights in one’s own body and the rights to receive safe medication as well as factors related to the patient’s rights perception, and comparison of differences in patient’s perception based on group age, sex, education level, occupation and of the people in Sumutprakarn, Data collection and data analysis was done by SPSS/PC+ method. The finding of this study can be summarized as follow : Most of the samples were men, aged between 18-25 years, graduated with bachelor’s degree, and had occupations that were not related to medicine. The rights perception experience is divided into direct and indirect categories. The study of the first type found that most samples used to be in –patients and used to look after the patient once in awhile the study of the second type found that most sample received information from radio, television, newspaper and bulletin as well as from relatives and people acquainted. Most of the samples have never attended seminar. The mean degrees of the patient’s rights perception are quite high. The patient’s rights perception study showed that bio-social factors related to patient’s rights perception were aging and occupation related to medicine. Direct experiences of information receiving related to patient’s rights perception were high frequency of admission and patient care experiences. Indirect experiences of information receiving related to patient’s right perception were high frequency of information received from media such as newspaper, radio, and bulletin; high participation in seminars; and high frequency of information received form relatives and acquaintances. From the research result, I would conclude that there should be serious campaigns to inform people about patient’s rights perception in various media such as radio, television, newspaper and bulletin. So that patient’s rights will not be violated and medical personnel’s would recognize what their responsibilities are, and treat the patients respectfully.th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectสิทธิผู้ป่วยth
dc.subjectสวัสดิการในโรงพยาบาลth
dc.subjectPatient advocacyth
dc.titleการรับรู้สิทธิผู้ป่วยของประชาชนในจังหวัดสมุทรปราการth
dc.title.alternativePatient's Rights Perception of Samutprakarn Province Peopleth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการจัดการโครงการสวัสดิการสังคมth
Appears in Collections:Social Work and Social Welfare - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.pdf343.92 kBAdobe PDFView/Open
Tableofcontents.pdf331.32 kBAdobe PDFView/Open
Chapter1.pdf523.39 kBAdobe PDFView/Open
Chapter2.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open
Chapter3.pdf240.97 kBAdobe PDFView/Open
Chapter4.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open
Chapter5.pdf652.22 kBAdobe PDFView/Open
References.pdf999.48 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.