Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2075
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสถาพร ปิ่นเจริญ-
dc.contributor.advisorSathaporn Pincharoan-
dc.contributor.authorจตุพร ตีทอง-
dc.contributor.authorJatuporn Teetong-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2024-04-27T14:56:50Z-
dc.date.available2024-04-27T14:56:50Z-
dc.date.issued2009-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2075-
dc.descriptionการศึกษาอิสระ (บธ.ม.) (บริหารธุรกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2552th
dc.description.abstractการศึกษาการอนุรักษ์สภาพแวล้อมตามธรรมชาติในสถานที่เช่าพักอาศัยที่มีผลต่อการเลือกเช่าที่พักอาศัยของบุคคลทั่วไปภายในซอยนายกวน ตีทอง ตำบลบางโฉลง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มีวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติในสถานที่เช่าพักอาศัยและศึกษาถึงความต้องการของกลุ่มเป้าหมายของสถานที่เช่าพักในรูปแบบการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมตามธรรมชาตินี้ แนวโน้มความเป็นไปได้ของการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติและผู้สนใจในการเช่าพักอาศัยในวิธีการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยการใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) สำรวจกลุ่มตัวอย่าง 210 คน โดยทำการสุ่มตัวอย่าง 100% เนื่องจากประชากรมีจำนวนจำกัดและทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS ซึ่งผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเพศชายมีจำนวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 45.2 และเพศหญิงจำนวน 115 คน คิดเป็นร้อยละ 54.8 โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 21-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 51.4 มีสถานภาพโสดอยู่ในระดับการศึกษาปริญญาตรี และทำงานอยู่ในบริษัทเอกชนเป็นส่วนมาก ซึ่งระดับรายได้อยู่ในช่วง 10,000-15,000 บาท กลุ่มตัวอย่างพักอาศัยอยู่ในสถานที่พักเป็นเวลา 1-3 ปี เป็นรูปแบบของการเช่าพักอาศัย โดยจะพักอาศัยอยู่ร่วมกับคู่ครองหรือแฟน โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นว่าระยะทางการเดินทางเข้าสถานที่เช่าพักที่เหมาะสมจะต้องสามารถเดินเข้าที่พักเป็นระยะทางสั้นๆ ได้ซึ่งระยะทางโดยประมาณที่ 200 เมตร แต่ไม่เกิน 500 เมตร กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นว่าสถานที่เช่าพักที่ดีต้องปลอดภัยจากมลภาวะที่เป็นพิษ และต้องมีสภาพแวดล้อมที่สงบเงียบจากธรรมชาติ ผู้คนไม่พลุกพล่าน สำหรับความคิดเห็นเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติในสถานที่เช่าพักอาศัยความคิดเห็นที่กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นด้วยมากที่สุด คือ การมีต้นไม้ล้อมรอบสถานที่พักอาศัย ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีทั้งสุขภาพกายและใจและความสงบร่มเย็นของธรรมชาติ จะทำให้สถานที่พักอาศัยน่าอยู่มากยิ่งขึ้น รองลงมากลุ่มตัวอย่างเห็นว่าพลังงานลมนั้นทดแทนการใช้เครื่องปรับอากาศ ซึ่งสามารถให้ความเย็นเหมือนกันได้ และกลุ่มตัวอย่างก็ให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำสถานที่เช่าพักที่พัฒนาทางด้านสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาตินั้น สามารถทำได้จริง กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความสนใจในการเช่าพักอาศัยในสถานที่พักอาศัยตามธรรมชาตินี้ หากมีการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติได้จริง โดยผลจากการทดสอบค่าสถิติไคสแควร์ที่สำคัญ พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบสถานที่เช่าพักอาศัยกับแนวโน้มความต้องการสถานที่เช่าพักอาศัยในรูปแบบการอนุรักษ์ธรรมชาติของกลุ่มประชากรตัวอย่างมีความสนใจ ในสถานที่เช่าพักในรูปแบบนี้เป็นอย่างมากค่าเฉลี่ยสูงถึงร้อยละ 99.5 และมีระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.775th
dc.language.isothth
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติth
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth
dc.subjectConsumer behaviorth
dc.subjectหอพัก -- การออกแบบและการก่อสร้างth
dc.subjectDormitories -- Design and construction.th
dc.subjectภูมิสถาปัตย์กับการอนุรักษ์พลังงานth
dc.subjectArchitecture and energy conservationth
dc.titleการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติในสถานที่เช่าพักอาศัยที่มีผลต่อการเลือกเช่าที่พักอาศัยของบุคคลทั่วไปภายในซอยนายกวน ตีทอง ตำบลบางโฉลง อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการth
dc.title.alternativeResidences' Natural Environment Preservation Affecting the Accomodating Rental Decision is Soi Naykorn Teetong Tumbon Bangchalong Aumper Bangpee Samutprakarn Provinceth
dc.typeIndependent Studiesth
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineบริหารธุรกิจth
Appears in Collections:Business Administration - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chatuporn-Treethong.pdf
  Restricted Access
16.62 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.