Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2228
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพวงชมพู โจนส์-
dc.contributor.advisorPuangchompoo Jones-
dc.contributor.authorจารุวรรณ เลขนาวิน-
dc.contributor.authorJaruwan Leknawin-
dc.contributor.otherHuachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration-
dc.date.accessioned2024-05-14T13:02:23Z-
dc.date.available2024-05-14T13:02:23Z-
dc.date.issued2010-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2228-
dc.descriptionการศึกษาอิสระ (บธ.ม.) (บริหารธุกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2553en
dc.description.abstractการศึกษาการแพร่กระจายนวัตกรรมเทคโนโลยีเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 (3G) บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลให้เกิดการแพร่การะจายนวัตกรรม และพฤติกรรมการรับรู้การแพร่กระจายนวัตกรรมของผู้บริโภค ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ (Survey Research) เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบวัดผลครั้งเดียว (One-Short Case Study) ใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแจกแบบสอบถามใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยจะเลือกศึกษาจากประชากรที่มีลักษณะตรงตามวัตถุประสงค์ ซึ่งกลุ่มประชากรที่ศึกษา คือ ประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน การวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้ค่าสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความถี่ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการทดสอบสมมติฐานจะใช้สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistic) เนื่องจากการแจกแจข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างมีการสุ่มตัวอย่างมาจากประชากรที่มีการแจกแจงแบบไม่ปกติ ดังนั้น จึงใช่ค่าสถิติแบบไม่ใช้พารามิเตอร์ (Non Parametric Statistic) ในการทดสอบสมมติฐาน ซึ่งค่าสถิติที่เลือกใช้คือ ค่าสถิติไควสแควร์ (Chi-square Tests) โดยกำหนดค่านัยสำคัญของการคำนวณเป็น 0.05 ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุอยู่ในช่วง 26-30 ปี การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพพนักงานบริษัท/ห้างร้าน มีสถานภาพโสด และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ที่ 10,001-15,000 บาท ปัจจัยส่วนบุคคลทางด้านการศึกษาและรายได้เฉลี่ยต่อเดือนมีผลต่อการรับรู้การแพร่กระจายนวัตกรรมเทคโนโลยีเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 (3G) ซึ่งในการรับรู้การแพร่กระจายนวัตกรรมดังกล่าวนั้น ผู้บริโภรคจะมีความรู้ความเข้าใจในตัวนวัตกรรมที่แตกต่างกัน อันเนื่องมาจากการได้รับข้อมูลข่าวสารจากสื่อที่แตกต่างกัน โดยสื่อที่สามารถทำให้ผู้บริโภคสามารถรับรู้ได้นั้น ประกอบไปด้วยสื่อหนังสือพิมพ์ จดหมายข่าว (News Letter) แผ่นพับต่างๆ Web Site Chat Room พนักงานขาย และบุคคลรอบข้าง (เพื่อน ครอบครัว คนรู้จัก) อีกทั้งระยะเวลาในการรับรู้และระบบสังคมที่แตกต่างกันก็ส่งผลให้การรับรู้เกี่ยวกับการแพร่กระจายนวัตกรรมแตกต่างกันด้วยen
dc.language.isothen
dc.publisherมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.rightsมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติen
dc.subjectโทรศัพท์เคลื่อนที่en
dc.subjectCell phoneen
dc.subjectนวัตกรรมทางเทคโนโลยีen
dc.subjectTechnological innovationsen
dc.subjectการแพร่กระจายนวัตกรรมen
dc.subjectDiffusion of innovationsen
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen
dc.subjectConsumer behavioren
dc.titleการแพร่กระจายนวัตกรรมเทคโนโลยีเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 (3G) บนโทรศัพท์เคลื่อนที่ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeDiffusion of Innovation on Mobile Phone Network Technologies Third Generation (3G) for Mobile Phone Consumers in Bangkok Metropolitanen
dc.typeIndependent Studiesen
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineบริหารธุรกิจen
Appears in Collections:Business Administration - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Charuwan-Leknawin.pdf
  Restricted Access
16.72 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.