Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2393
Title: การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการบริโภคซูชิ กรณีศึกษาร้านซูชิขนาดเล็ก โดยรอบมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
Other Titles: Health Risk Assessment of Sushi Consumption: A Case Study of the Small-scale Sushi Shop around Huachiew Chalermprakiet University
Authors: พวงทอง พิมพ์เลขา
ธารินี นามมีศรี
อัญรินทร์ พิธาภักดีสถิตย์
วรางคณา วิเศษมณี ลี
Puangthong Pimlekha
Tharinee Nammeesri
Anyarin Pithapakdeesatit
Varangkana Visesmanee Lee
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health
Keywords: การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ
Health risk assessment
การปนเปื้อนในอาหาร
Food contamination
การเจือปนอาหารและการตรวจสอบ
Food adulteration and inspection
ซูชิ
Sushi
โลหะหนัก
Heavy metals
ตะกั่ว
Lead
แคดเมียม
Cadmium
Issue Date: 2018
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจหาปริมาณโลหะหนักที่ปนเปื้อนในซูชิและเพื่อประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการบริโภคซูชิ กลุ่มตัวอย่างงานวิจัยครั้งนี้ใช้ซูชิจำนวน 10 หน้า ข้าวปั้น และสาหร่ายโนริ แล้วนำมาวิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนักที่ปนเปื้อนในซูชิ ด้วยเครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer โดยการใช้เทคนิค Graphite Furnace Atomic Absorption ผลการสำรวจ พบว่ามีปริมาณตะกั่วในหน้าแซลมอนมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.0022 mg/kg ในขณะที่ปริมาณแคดเมียมพบว่ามีในกุ้งมากที่สุดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.0078 mg/kg นอกจากนี้ยังพบการรปนเปื้อนโลหะหนักในสาหร่ายโนริ ซึ่งปริมาณการปนเปื้อนทั้งตะกั่วและแคดเมียมเฉลี่ยเท่ากับ 0.0050 mg/kg และ 0.0146 mg/kg ตามลำดับ และในข้าวมีปริมาณตะกั่วและแคดเมียมเฉลี่ย 0.0003 และ 0.0010 mg/kg ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม โลหะหนักที่ปนเปื้อนในหน้าซูชิ และสาหร่ายโนริ มีค่าไม่เกินข้อกำหนดชอง CODEX Alimentarius Food Standard นอกจากนี้ ผลประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการบริโภคซูชิ พบว่า การปนเปื้อนโลหะหนักจากการรับประทานซูชิยังไม่อยู่ในระดับที่ส่งผลต่อความเสี่ยงสุขภาพ
Furnace Atomic Absorption. The results found that Lead contamination was maximized in salmon topping with the average concentration as 0.0022 mg/kg. Cadmium concentration was maximized in shrimp topping with the average concentration as 0,0078 mg/kg. In addition, average concentration of Lead and Cadmium were found in Nori seaweed to be 0.0050 mg/kg and 0,0146 mg/kg, respectively, while these heavy metals were found in the rice with the average concentration as 0.0003 and 0.0010 mg/kg, respectively. However heavy metals in all sample did not exceed than The CODEX Alimentarius regulation. Moreover, the health risk assessment from sushi consumption was not to have any impact to health.
Description: Proceedings of the 6th National and International Conference on "Research to Serve Society", 22nd June 2018 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. p. 719-724.
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2393
Appears in Collections:Public and Environmental Health - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
HCU2018-Health-Risk-Assessment-of-Sushi-Comsumption.pdf436.62 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.