Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2417
Title: พฤติกรรมการดูแลตนเองและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ยาและไม่ใช้ยาบรรเทาอาการปวดประจำเดือนของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
Other Titles: Self-care Behaviors and Factors Related to Medication use and Non-medication use to Decrease Dysmenorrhea in Nursing Students, Huachiew Chalermprakiet University
Authors: นพนัฐ จำปาเทศ
พรทิพย์ เจิง
ปวีณา ชุมภู
มารินา วิจิตรตระการสม
วฤนดา กลั่นเจริญ
พรสุดา พูลแย้ม
ณัฐธิดา ใจปัญญา
สุชัญญา สิมมาเทศ
Nopphanath Chumpathat
Pornthip Tseng
Paweena Chumphu
Marina Wichittrakarnsom
Warunada Klancharoen
Pornsuda Phoonyaem
Nattida Jaipanya
Suchanya Simmatest
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science
Keywords: ระดู
ประจำเดือน
Menstruation
ปวดระดู
การปวดประจำเดือน
Dysmenorrhea
การใช้ยา
Drug utilization
ยาแก้ปวด
Analgesics
การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง
Self-care, Health
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะพยาบาลศาสตร์ – นักศึกษา
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing -- Students
นักศึกษาพยาบาล
Nursing students
Issue Date: 2019
Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นเป็นวิจัยเชิงปริมาณแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดประจำเดือนและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในการเลือกใช้และไม่ใช้ยาบรรเทาอาการปวดประจำเดือนของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เก็บข้อมูลในนักศึกษาพยาบาลจำนวน 537 คน โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 4 ท่าน ได้ค่า Index of item objective congruence ทุกข้ออยู่ระหว่าง 0.50-1.00 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ร้อยละ และสถิติไคสแคว์ (X2 test) ผลการวิจัย พบว่า ความชุกของการปวดประจำเดือนร้อยละ 80.63 พฤติกรรมการดูแลตนเองส่วนมากที่ใช้ คือ การนอนหลับพักผ่อนร้อยละ 38.76 อาการร่วมขณะมีประจำเดือนที่พบบ่อย คือ เป็นสิว ร้อยละ 20.95 ผลกระทบขณะมีประจำเดือนมากที่สุด คือ ไม่กระตือรือร้นต่อการร่วมกิจกรรม ร้อยละ 48.59 มีการใช้ยาบรรเทาอาการปวดประจำเดือน ร้อยละ 64.90 และความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้ยาและไม่ใช้ยาบรรเทาอาการปวดประจำเดือน พบว่า ปัจจัยด้านระดับชั้นปี ความสม่ำเสมอของการมีประจำเดือน และการรับรู้ระดับความเจ็บปวดประจำเดือนมีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้ยาและไม่ใช้ยาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.002, 0.025, p < 0.001 ตามลำดับ) สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาได้ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดประจำเดือนและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในการเลือกใช้ยาและไม่ใช้ยาบรรเทาอาการปวดประจำเดือน ซึ่งจะเป็นแนวทางในการจัดการอาการปวดประจำเดือนได้อย่างเหมาะสม
This research aimed to study self-care behaviors and factors related to medication use and non-medication use to decrease dysmenorrhea in nursing student, Huachiew Chalermprakiet University. The participants included 537 female nursing students using an analytical cross-sectional study. The online questionnaire used for data collection was verified for content validity by 4 experts. The lOC was between 0.50-1.00. Data were analyzed by percentage and X2 tests. The result found prevalence rate of 80.63% of dysmenorrhea. The most self-care behaviors to decrease dysmenorrhea was sleeping and rests (38.76%). The most affects during dysmenorrhea was not to be able to actively doing activities (48.59%). More than 50% of participants use some kinds of medicine to decrease dysmenorrhea. Academic year, regularity of menstruation, and perception of pain level were significantly correlated with mecication/non-medicationuse to decrease dysmenorrhea (p = 0.002, 0.025, p < 0.001 respectively) The research results showed self-care behaviors to decrease dysmenorrhea and factors related to drug use and non-druguse to decrease dysmenorrhea so that it can be used to manage dysmenorrhea appropriately.
Description: Proceedings of the 7th National and International Conference on "Research to Serve Society", 12 July 2019 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. p. 1055-1064.
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2417
Appears in Collections:Nursing - Proceeding Document

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Self-care-behaviors-and-Factors-Related-to-Medication.pdf2.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.